Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Aneurysm, Hypertention - Coggle Diagram
Aneurysm
การวินิฉัย
- ซักประวัติ ปวดศีรษะอย่างรุนแรงหมดสติ ผู้ป่วยอาจฟื้นสติขึ้นมาหรือยังหมดสติอยู่
ตรวจร่างกายพบคอแข็ง
- เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง ช่วยบอกตำแหน่งของหลอดเลือดสมองโป่งพอง
- การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าร่วมกับการฉีดสารทึบแสง (magnetic resonance angiogram :MRA )เป็นการตรวจเพื่อช่วยวินิจฉัยเกี่ยวกับความผิดปกติของเส้นเลือดแดง ได้ชัดเจนมากกว่าการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (computed tomography :CT ) และ การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (magnetic resonance imaging :MRI)
- การตรวจโดยฉีดสารทับแสง (cerebral angiography) เป็นการตรวจที่สำคัญที่สุดทำให้ทราบตำแหน่งของหลอดเลือดสมองโป่งพอง
- เจาะหลัง เพื่อพิสูจน์ภาวะเลือดออกในช่องใต้เยื่ออะแรชนอยด์
-
-
การรักษา
ทฤษฎี
1.การผ่าตัดหนีบหลอดเลือดสมองที่โป่งพอง (clipping) ซึ่งเป็นการผ่าตัดที่ละเอียดอ่อนที่สุด โดยประสาทศัลยแพทย์จะใช้คลิปขนาดเล็กหนีบที่บริเวณฐานของหลอดเลือดโป่งพองเพื่อไม่ให้เลือดไหลผ่านเป็นการป้องกันการแตกซ้ำ
2.การใส่ขดลวดทางสายสวนหลอดเลือด (endovascular coiling) โดยการใส่ขดลวดแพลทตินัมเข้าไปในหลอดเลือดสมองที่โป่งพองเพื่อทำ ให้เลือดเข้าไปในหลอดเลือดส่วนที่โป่งพองไม่ได้ ซึ่งเริ่มมีการรักษาโดยวิธีนี้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 จนได้รับความนิยมและเป็นที่ยอมรับมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากทำ ให้ผู้ป่วยเจ็บปวดทุกข์ทรมานน้อยกว่าการผ่าตัด
กรณีศึกษา ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Craniotomy with clipping aneurysm
การใช้คลิปขนาดเล็กหนีบที่บริเวณฐานของหลอดเลือดโป่งพองเพื่อไม่ให้เลือดไหลผ่าน
-
ความหมาย
ผนังหลอดเลือดแดงโป่งพอง (Aneurysm)
คือการโป่งพองออกหรือขยายใหญ่ออกของผนงหลอดเลือดแดงเนื่องจากผนังหลอดเลือดอ่อนแอ หลอดเลือดโป่งพองอาจมีขนาดเล็กและเกิดเฉพาะที่ หรือมีขนาดใหญ่และขยายขอบเขต
ออกไป
พยาธิสภาพ
เมื่อผนังหลอดเลือดชั้นกลางสูญเสียความยืดหยุ่น เนื่องจากจำนวนเซลล์กล้ามเนื้อเรียบลดลงมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ elastin และเกิดการตายของเนื้อเยื่อ ทำให้มีแรงดัน (tension) กระทำต่อผนังหลอดเลือดมากขึ้นๆในที่สุดผนังหลอดเลือดจะอ่อนแรง การไหลเวียนของเลือดซึ่งปกติจะไหลจากหัวใจไปตามแนวขนาน (laminar flow) ของหลอดเลือดก็จะเปลี่ยนเป็นการไหลวน (turbulent flow) ยิ่งทำให้เพิ่มแรงดันต่อผนังหลอดเลือดมากขึ้นๆ ในที่สุดผนังหลอดเลือดจะขยายออกและมีโอกาสแตกได้ เมื่อไม่สามารถจะขยายได้อีกและผนังหลอดเลือดเกิดการฉีกขาด จะปรากฏเลือดแทรกซึมเข้าไปในผนังชั้นกลาง เลือดมักจะแทรกซึมไปทางด้านส่วนปลายมากกว่าส่วนต้น ก้อนเลือดที่เกิดขึ้นจะทำให้รูหลอดเลือดมีขนาดเล็กลง ยิ่งทำให้เป็นการเพิ่มแรงดันต่อบริเวณผนังหลอดเลือดนั้นมากขึ้น และถ้าเลือดออกมากขึ้นจะไปกดอวัยวะที่อยู่ข้างเคียงได้ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอย่างกะทันหัน
Hypertention
-
-
-
พยาธิสภาพ
- ตัวรับความดันโลหิตและตัวรับเคมีในหลอดเลือดแดง มีกลไกดังนี้
-ตัวรับคาโรติดไซนิส เอออร์ต้า มีหน้าที่ตรวจสอบความดันในหลอดแดงและส่งสัญญาณในการลดความดันในหลอดเลือดแดงโดยผ่านระบบประสาทเวกัสทำให้หลอดเลือดดำขยายตัว หัวในเต้าช้าลง
2.การควบคุมปริมาณสารน้ำในร่างกาย มีกระบวบ คือ
-เมื่อร่างกายมีสารน้ำโซเดียมโดยขับรถ
-ถ้ามีน้ำและโซเดียมในร่างกาย
3.การควบคุมตัวเองของหลอดเลือด
-เป็นการถ้ามีภาวะของหลอดเลือด เพื่อปริมาณของเลือดเปลี่ยนแปลง
-