Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 รูปแบบของระเบียบวินัยและการนำไปประยุกต์ใช้, นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ…
บทที่ 8 รูปแบบของระเบียบวินัยและการนำไปประยุกต์ใช้
การวางแผนเกี่ยวกับกระบวนการในห้องเรียน
กระบวนการทั่วไป
ห้องน้ำ
ห้องสมุดอุปกรณ์และโต๊ะครูใหญ่
การรบกวนหรือความล่าช้า
โรงอาหาร
การแจกอุปกรณ์หรือเอกสารการเรียน
กระบวนการใช้ห้องเรียน
โต๊ะครูและบริเวณที่เก็บของ
โต๊ะผู้เรียนและบริเวณที่เก็บของผู้เรียน
ที่เก็บของส่วนรวม
ที่ดื่มน้ำอ่างล้างมือที่เหลาดินสอ
ที่ดื่มน้ำอ่างล้างมือที่เหลาดินสอ
ห้องน้ำ
บริเวณศูนย์กลางสถานีและเครื่องมือต่างๆ
การออกจากห้อง
การสิ้นสุดของแต่ละวัน
รูปแบบของระเบียบวินัยและการนำไปประยุกต์ใช้
คิดค้นโดยผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน
เป็นขอบเขตในการทำงานที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในเชิงปฏิบัติ
ช่วยอธิบาย
โครงสร้าง
ความหมายการจัดการในชั้นเรียน
สรุป
ระเบียบวินัยและการควบคุมชั้นเรียนจะต้องได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมโดยผู้ที่เป็นครูทั้งพฤติกรรมของผู้เรียนทั้งในเชิงบวกและเชิงลบก็ยังเป็นสิ่งสำคัญที่ควรคำนึงถึงด้วยเช่นกัน
รูปแบบของระเบียบวินัยในชั้นเรียน
การปรับปรุงพฤติกรรมโดย Skinner
คือการควบคุมพฤติกรรมการปรับปรุงพฤติกรรม
ครูสามารถส่งเสริมผู้เรียนที่มีความประพฤติโดยการให้รางวัล
ครูควรส่งเสริมผู้เรียนที่มีความประพฤติดีมากกว่าจะลงโทษผู้เรียนที่มีความประพฤติแย่
การปรับสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนเพื่อขจัดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ระเบียบวินัยในตนเอง
โดย Canter
ครูมีสิทธิ์ที่จะกำหนดกฏระเบียบสำหรับชั้นเรียนและผู้เรียนจะต้องปฏิบัติตามกฎนั้น
วิธีการสร้างระเบียบวินัยในตนเอง
สำรวจความประพฤติของผู้เรียนในชั้นพร้อมจดบันทึกไว้
ส่งเสริมความประพฤติที่ดีของผู้เรียน
กำหนดกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติ
ใช้วิธีการที่เหมาะสม
สร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างครูและผู้เรียน
ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองของผู้เรียน
การบำบัดตามความเป็นจริงโดย Glasser
ความต้องการทางจิตวิทยาพื้นฐาน 4 ประการ
การมีอำนาจและการควบคุม
การเป็นอิสระ
ความรัก การเป็นเจ้าของและการถูกรัก
การมีความสนุกสนาน
ผลลัพธ์ทางตรรกศาสตร์โดย Dreikurs
การวางอำนาจ
ลืมหนังสือเรียนไว้ที่บ้าน
ไม่ยอมทำความสะอาดห้องเรียนหลังเลิกเรียน
ผู้เรียนไม่ยอมทำงานที่ครูสั่ง
ความไม่พอใจกลยุทธ์ 5 ขั้นสำหรับรับมือกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมดังกล่าว
ช่วยเหลือผู้เรียนให้เข้าใจแรงกระตุ้นของตนเอง
ช่วยเหลือผู้เรียนเปลี่ยนแปลงความคิดที่ผิด
สื่อให้รู้แน่ชัดถึงแรงกระตุ้นของผู้เรียน
ให้กำลังใจในการทำให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมายใหม่ที่ดีงาม
ช่วยเหลือผู้เรียนถึงการเรียนรู้ถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติที่ผิดพลาด
การเรียกร้องความสนใจ
ชวนเพื่อนคุย
ก่อกวนเพื่อนที่นั่งข้างๆให้เรียนหนังสือไม่รู้เรื่อง
เคาะดินสอกับโต๊ะ
ไม่ใส่ใจฟังที่ครูสอน
ทำตัวขี้เกียจและไม่ยอมทำงานที่ครูสั่งให้ทำ
การวิ่งวนไปรอบห้องเรียน
ความแค้น
แก้แค้นโดยการลักขโมย
ก่อความรุนแรงและทำลายทรัพย์สินของโรงเรียน
นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา 6220160352 กลุ่มที่ 3 เลขที่ 8