Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
เกณฑ์การวินิจฉัย
New-onset Proteinuria
Urine protein 24 hours ≥ 300 mg OR
Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) ≥ 0.3 mg/dL OR
Severe features
Thrombocytopenia คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
Renal insufficiency คือ Serum creatinine ≥ 1.1 หรือมากกว่า 2 เท่าของค่า Serum creatinine เดิมโดยไม่มีโรคไตอื่น
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg หรือ Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
New-onset Hypertension
Systolic BP (SBP) ≥ 140 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 90 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัดห่างกัน 15 นาที
ประเภทของความดันโลหิตสูง
Chronic hypertension: หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ตรวจพบความดันโลหิตสูงก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia : Preeclampsia ที่เกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น Chronic hypertension
Preeclampsia-eclampsia : ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ มักเกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Gestational hypertension: ภาวะความดันโลหิตสูงที่จาเพาะกับการตั้งครรภ์ ความดันโลหิตมักกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
พยาธิสรีรวิทยา
ตัวอ่อนไม่สามารถฝังตัวในเยื่อบุโพรงมดลูกได้อย่างปกติ ทำให้หลอดเลือดของมดลูกไม่สามารถแตกแขนงเข้าไปเลี้ยงรกที่กาลังเจริญเติบโตได้ ทาให้เลือดมาเลี้ยงรกไม่เพียงพอ เซลล์ของรกจะขาดเลือดและมีการตายอย่างต่อเนื่อง (apoptosis) ทาให้มีการหลั่งสารเคมีและโปรตีนหลายชนิดซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งและส่งเสริมการสร้างหลอดเลือดออกมาในสัดส่วนที่ผิดปกติ โดยระดับโปรตีนที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้างหลอดเลือดจะสูงกว่าระดับโปรตีนที่มีฤทธิ์ส่งเสริมการสร้างหลอดเลือด ทาให้การแตกแขนงของหลอดเลือดเป็นไปอย่างผิดปกติมากขึ้น
ความสมดุลระหว่างโปรตีนที่มีฤทธิ์ยับยั้งและส่งเสริมการสร้างหลอดเลือดผิดปกติและเซลล์ของรกที่ขาดเลือด มีการตายอย่างต่อเนื่อง และหลั่งสารเคมีหลายชนิดที่ทาให้หลอดเลือดหดรัดตัว เมื่อหลอดเลือดทั่วร่างกายหดรัดตัวเป็นเวลานานจะทาให้เซลล์บุผนังหลอดเลือดเสื่อมสภาพ ส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์มีความดันโลหิตสูงและเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ลดลง ระบบการแข็งตัวของเลือดจะถูกกระตุ้นจากความเสื่อมสภาพของเซลล์บุผนังหลอดเลือด ทาให้มีลิ่มเลือดอุดตันทั่วตัว
แนวทางการดูแล
ในระยะคลอด
วัดความดันโลหิต และ Deep tendon reflex ทุก 1-2 ชั่วโมงหรือตามความรุนแรงของอาการ
ประเมิน Headache, visual disturbance, epigastric pain
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ และลดการกระตุ้นผู้ป่วย
ตรวจ Urine protein เพื่อประเมินการทำงานของไต
นอนพักบนเตียงให้มากที่สุด
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate ตามแนวทางการรักษา สังเกตอาการข้างเคียง
ระยะหลังคลอด
Observe Bleeding จากแผลผ่าตัดหรือจากช่องคลอด
ให้ IV Fluid ที่ผสม MgSO4 drip ด้วยเครื่อง Infusion pump โดยอธิบายถึงผลข้างเคียง
ประเมินการการหดรัดตัวของมดลูก
จัดอาหาร Low Salt และ High Protein ในรายที่สามารถรับประทานอาหารได้
ในรายไม่รู้สึกตัวให้นอนราบตะแคงหน้าส่วนในรายที่รู้สึกตัวให้นอนท่าFowler’s position
กรณีมารดาหลังคลอดได้รับ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4 หากมารดา BP ≥ 160 /110 mmHg ควรงดดูดนมก่อนจนกว่าความดันโลหิตจะลดลง
ก่อนตั้งครรภ์
การพิจารณาเลือก Anti-hypertensive agents จะพิจารณาให้ในรายที่วัดความดันโลหิตที่ รพ.ได้ ≥ 140/90 mmHg
เฝ้าระวังการเกิดภาวะ Superimposed preeclampsia และการเกิด Preeclampsia with severe feature
แนะนำให้เจาะเลือดเพื่อประเมิน Baseline CBC with platelet, BUN, Cr, AST, ALT, uric acid และส่งตรวจปัสสาวะเพื่อประเมิน Baseline urine protein
พิจารณาให้ Low dose aspirin คือ Aspirin(81) 1x1 oral pc ตั้งแต่ GA 12-36 wksในรายที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด Preeclampsia with severe feature
กรณี Chronic HT ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกในครรภ์ ไม่แนะนาให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38 สัปดาห์
ความหมาย
ภาวะที่มี systolic blood pressure (SBP) ≥ 140 mmHg หรือ diastolic blood pressure (DBP) ≥ 90 mmHg ภาวะโปรตีนรั่วในปัสสาวะ หรือ proteinuria คือ ภาวะที่มี urine protein ≥ 300 mg ในปัสสาวะที่เก็บต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง หรือ urine protein creatinine index (UPCI) ≥ 0.3 หรือ urine dipstick ≥ 1+(1,2)