Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ - Coggle…
บทที่ 6
การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง คือ
การให้ครูเป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอนโดยตรงในขณะที่
การสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ การปล่อยให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง
การจัดสภาพแวดล้อมในการเรียนสำหรับการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
ครูจะต้องมีทักษะที่จำเป็นดังนี้
สามารถรับรู้ได้ตลอดเวลาว่าเกิดอะไรขึ้นภายในชั้นเรียนบ้าง
ความสามารถของครูในการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์
2 เหตุการณ์ที่เดิดขึ้นภายในเวลาเดียวกัน
การจัดการเรียนการสอนให้ดำเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
การดึงความสนใจของผู้เรียน
การขจัดความเบือ่หน่ายของผู้เรียน
ครูจะต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะช่วยให้ครูจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้อย่างประสบความสำเร็จด้วย นั่นคือ
ตั้งกฎเพื่อควบคุมความประพฤติของผู้เรียน
กำหนดกระบวนการเพื่อสร้างกิจกรรมของผู้เรียน
การจดจ่อกับการเรียนในขณะที่ครูสอนอยู่
การควบคุมการเรียนการสอนให้ดำเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
ใช้เวลาในการเรียนการสอนให้คุ้มค่าและประสบความสำเร็จ
การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
กลยุทย์การสอนประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
ระหว่างสอน
อธิบายวัตถุประสงค์ของบทเรียน
จัดระเบียบข้อมูล
นำเสนอข้อมูลใหม่
สรุปประเด็นสำคัญ
ภายหลังการสอน
เป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจในความรู้ใหม่ที่ได้เรียนไปหรือไม่
ครูอาจตั้งคำถาม
สั่งการบ้าน
ทดสอบและใช้วิธีการอื่นๆ
ก่อนการสอน
กำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียน
พิจารณาถึงความรู้และทักษะที่ผู้เรียนมีอยู่ก่อน
ซึ่งสอดคล้องกับหัวข้อที่จะเรียน
เลือกและทบทวนเนื้อหาให้สอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ในการเรียน
เลือกรูปแบบการสอนให้เหมาะกับผู้เรียน
จัดระเบียบข้อมูลให้สอดคล้องกับแผนการสอน
การนำเสนอ
คือการถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้มากกว่าไปสู่ผู้ที่มีความรู้น้อยกว่า เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจในข้อเท็จจริง
การสอนแนวคิด
คือการสอนแนวคิดหลักที่เป็นรากฐานในการส่งเสริมทักษะการคิดของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจกับแนวคิดได้ดีขึ้น
การสอนแนวคิดมีหลายวิธีด้วยกัน
แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเพียง 2 วิธี คือ
การนำเสนอโดยตรง
คือการสอนโดยที่ผู้เรียนไม่มีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดที่จะสอนนี้มาก่อน ครูจะเป็นผู้ให้คว่มรู้แก่ผู้เรียนและช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิดนั้นได้
การเรียนรู้แนวคิดได้ด้วยตนเอง
คือ การสันนิษฐานว่าผู้เรียนมีความรู้กับแนวคิดที่จะสอนอยู่บ้างแล้ว
ภายหลังการสอน
ครูอาจต้องการประเมินความเข้าใจของผู้เรียนถึงแนวคิดที่ได้เรียนไป โดยให้ผู้เรียน
เขียน
อธิบาย
ทำแบบทดสอบ
ระหว่างการสอน
นำเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน
ระบุแนวคิดพร้อมยกตัวอย่างหรือไม่ยกตัวอย่างประกอบ
ทดสอบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิด
วิเคราะห์ความคิดและการเรียนรู้ของผู้เรียน
ก่อนการสอน
เลือกแนวคิดที่จะสอนจากแผนการเรียน
วิเคราะห์แนวคิด
ระบุแนวคิด
เลือกการใช้หรือไม่ใช้ตัวอย่างประกอบ
จัดรูปแบบการใช้หรือไม่ใช้ตัวอย่างประกอบจากง่ายไปหายาก
ตัดสินว่าจะใช้การสอนแนวคิดรูปแบบใด
การสอนโดยตรง
ระหว่างสอน
นำเสนอวัตถุประสงค์ของบทเรียน
ให้ข้อมูลหรือทักษะอย่างถูกวิธี
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติ
ตรวจสอบความเข้าใจและให้ความเห็น
ภายหลังการสอน
ครูอาจเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏบัติเป็นรายบุคคล โดยฝึกภายในห้องเรียนหรือให้ไปทำเป็นการบ้าน จากนั้นครูทดสอบเพื่อ
ประเมินความรู็หรือทักษะที่ผู้เรียนได้
ก่อนการสอน
กำหนดวัตถุประสงค์ให้สอด
คล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียน
วิเคราะห์เนื้อหาแต่ละส่วนเพื่อให้
ครูดำเนินการสอนอย่างเป็นระบบ
สรุป
วิธีสอนแต่ละรูปแบบล้วนมีข้อดีข้อเสีย ดังนั้น ครูควรเลือกโดยคำนึงถึงสิ่งที่ครูต้องการให้เป็นภายหลังจากจบบทเรียน
ครูควรใช้แนวทางการสอนแบบผสมผสาน ระหว่างการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางและการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เมื่อครูคุ้นเคยกับรูปแบบแต่ละแบบแล้ว ครูก็สามารถผสมผสานการสอนแต่ละแบบเข้าด้วยกันได้ตามความเหมาะสม