Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการศึกษาไทย, นางสาวฮานาน ดอเลาะ เลขที่ 27 รหัส6220160472 กลุ่ม 06 -…
ระบบการศึกษาไทย
รูปแบบการจัดการศึกษา
การศึกษาในระบบ Formal Education
การศึกษาในชั้นเรียนปกติเป็นการศึกษาในระบบที่จัดขึ้นในสถานศึกษา และผู้เรียนต้องเข้าเรียนเต็มเวลา แบ่งออกได้2 ประเภท ได้แก่ ประเภทสามัญ และประเภทอาชีวศึกษา
2)การศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการการศึกษาพิเศษคือ ให้ผู้เรียนทุกคนรวมทั้งผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ อันได้แก่ ผู้มีความสามารถพิเศษ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
3).การศึกษาสำหรับสงฆ์และการศึกษาที่จัดโดยสถาบันศาสนา
(4) การศึกษาเฉพาะทางที่จัดโดยหน่วยงานอื่นนอกเหนือจากกระทรวงึกษาธิการ
5).การศึกษานานาชาติที่ใช้ภาษาอื่นเป็นสื่อการเรียน
การสอน (ส่วนใหญ่จะเป็นภาษาอังกฤษ)
2 การศึกษานอกระบบ Non Formal Education
เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล โดยมีเนื้อหาที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละกลุ่มบุคคล เช่น การเรียน ก.ศ.น การศึกษาทางไกล และการศึกษาระบบออนไลน์
3 การศึกษาตามอัธยาศัยInformal Education
การศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์จากการทำงาน จากบุคคล จากครอบครัว จากชุมชน จากสื่อ และจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เพื่อเพิ่ไม่มีหลักสูตรและเวลาเรียนที่แน่นอน สามารถเรียนได้ตลอดเวลาและมพูนความรู้ทักษะ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกิดขึ้นในทุกช่วงวัยตลอดชีวิต
แผนผันระดับการศึกษาของไทย
1.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
รัฐบาลได้ขยายเวลาการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจาก 12 ปีเป็น 15 ปี
การศึกษาขั้นพื้นฐานในปัจจุบันเริ่มตั้งแต่ระดับปฐมวัยหรือระดับอนุบาล 3 ปีระดับประถมศึกษา 6 ปีระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปีและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี
ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาขั้นพื้นฐานครอบคลุมตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3
2 การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับอนุปริญญาหรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ใช้ระยะเวลาในการศึกษาจำนวน 2 ปี
ระดับปริญญา
การศึกษาระดับปริญญาตรีโดยปกติจะกำหนดระยะเวลาของหลักสูตรไว้4 ปีและ 2 หรือ 3 ปีในหลักสูตรต่อเนื่องจากระดับอนุปริญญา
การศึกษาระดับปริญญาโท
เป็นการศึกษาึ่งลงลึกในขอบเขตการศึกษาที่เฉพาะเจาะจงมากกว่าระดับปริญญาตรี
การศึกษาระดับปริญญาเอก
ใช้เวลาในการศึกษาโดยทั่วไป 3 ปีต่อเนื่องจากการศึกษาระดับปริญญาโท
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
การบริหารและการจัดการศึกษาในส่วนกลาง
มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริม และกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
ประกอบไปด้วยองค์กรหลัก 5 หน่วยงาน
1) สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
2) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
3) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
5) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2.การบริหารและการจัดการศึกษาในส่วนภูมิภาค
มีการปรับโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในส่วนภูมิภาคในปีพ.ศ. 2559
ให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยการแบ่งเขตการพื้นที่การศึกษาแต่ละเขตนั้นจะคำนึงถึงปริมาณสถานศึกษา จำนวนประชากร วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่น ๆ
การบริหารและการจัดการศึกษาในระดับสถานศึกษา
แบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ ดังนี้
1) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านวิชาการ
ด้านงบประมาณ
3.การบริหารงานบุคคล
การบริหารงานทั่วไป
2) ระดับอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นจะเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐบาล มีสถานะเป็นกรม
และได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อการดำเนินงานในแต่ละปี
การบริหารงานด้านบุคลากรการคลัง และการบริหารงานทั่วไปของมหาวิทยาลัยยังยึดระบบราชการเต็มรูปแบบ
การจัดการศึกษาโดยสถานศึกษาเอกชน
ประกอบด้วยองค์กรนอกภาครัฐ สถานศึกษาเอกชนสถานประกอบการเอกชน ครอบครัว และสถาบันทางศาสนา
การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระโดยมีการกำกับ ติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ
นางสาวฮานาน ดอเลาะ เลขที่ 27 รหัส6220160472 กลุ่ม 06