Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการที่1 การพยาบาลมารดาที่มีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์, ขา2ข้าง -…
สถานการที่1
การพยาบาลมารดาที่มีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ข้อมูลเพิ่มเติมที่ต้องติดตาม
Respiratory
Keep RR >14bpm
DTRs
Monitor hyporeflexia/arefleia ที่ patellar
Serum Mg
ติดตาทีในรายที่มีrenal failure, monitor ทุก 4ชั่วโมง
Urine output
ใส่ Foley catheter keep urine output>0.5 ml/kg/hr
Mgso4 toxicity
การวินิจฉัย
BP = 160/110 bpm
วัด2ครั้ง ห่างกัน 4ชม
Renal insufficiency
Liver function test
Proteinuria
Urine protein 24 hr > 300 mg OR
Urine Dipstick or Urine analysis reading >2+
Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) >0.3
เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
สาเหตุ+พยาธิสภาพ
Hypertensive disorder in pregnancy
( Preaclampsia)
Preeclampsia
diagnosis
เกิดการทำลาย endothelial ของ
Permeability สูง
Protein leak
Albumin ในรกต่ำ
Hydrostatic pressure > oncotic pressure
Plasma leak
บวม
1 more item...
กล้ามเนื้อมดลูกเเละรก
Spiral arteries เเคบ
หลอดเลือดไปเลี้ยงบริเวณรกลดลง
ทารกรับเลือดจากมารดาลดลง
ทารกได้รับออกซิเจนน้อบ
Fetal distress
EFM พบ Late deceleration
ทารกดิ้นน้อย
น้ำคร่ำปนขี้เทา
FHS 100bpm
Cellรกขาดเลือด
Cell apoptosis
หลั่งสาร tumor necrosis factor - alpha
1 more item...
รกเสื่อม
2 more items...
Kidney
Glomerular cell บวม
+
หลอดเลือดฝอยหดรัดตัว
GFR ลดลง
พบ protein ในปัสสาวะ
Condition
can result in
Protein leak
Babies
Retardation
IUGR
Low birth weight
ตรวจ EFM
Protein positive contraction stage test
1900กรัม
37+3 was HF 2/4 เหนือสะดือ
Preterm baby
Sympom
edema 2+
Bleeding per vagina
จุกเเน่นลิ้นปี่
Urine
Dizziness
Protein 1+
Elevate blood pressure
อาการเเละอาการเเสดง
ผลกระทบ
ต่อมารดา
หัวใจวาย
ภาวะเเทรกซ้อนจากการชัก เช่น กระดูกหัก
เกิดภาวะปอดบวมน้ำเกิดอาการเหนื่อยง่ายนอนราบไม่ได้
ระบบเลือด เกิดภาวะ DIC ได้
จอประสาทตาบวมทำให้เกิดจอประสาทตาบวมทำให้เกิดอาการตาพร่ามัว
บวม จากการมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ ทำให้ Ulbumin ในร่างกายต่ำ ทำให้บวมกดบุ๋ม
• สมอง ระบบประสาท อาจมีสมองระบบประสาทอาจ มีเลือดออกในสมองปวดศีรษะ เกร็งและชัก :
ได้รับอาการข้างเคียงจากยากันชัก เช่น หยุดหายใจ ตกเลือดหลังคลอด
จากยาลดความดัน ทำให้ ความดันโลหิตต่ำ ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน
รกเสื่อมจากรกขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดเนื้อตาย
รกลอกตัวก่อนกำหยุดจากรกขาดเลือดไปเลี้ยง
ปัสสาวะออกน้อย อัตราการกรองเสียหน้าที่ มีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ ค่าการทำงานของไตสูงขึ้น
ต่อทารก
Preterm labor
MAS
IUGR น้ำคร่ำน้อย
DEIU
เด็กดิ้นน้อยลง
น้ำหนักเพิ่มมากกว่า 2-3กิโลกรัม ต่อสัปดาห์
ปวดศีรษะมาก ตาพร่ามัว เห็นเเสงเเว๊บๆ จุกเเน่นลิ้นปี่
มีอาการบวมบริเวณหน้าท้อง มือและเท้าหรือบวมทั้งตัว
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ข้อมูลสนับสนุน:-ระยะคลอดพบลักษณะรกลอกตัวก่อนกาหนดเสียเลือดรวม 1,200 ml มดลูกหดรัดตัวไม่ดีมีแผนการรักษาให้ Cytotec 1/4 tab เหน็บทางช่องคลอดให้ Acetar 1000 ml 120 ml / hr. Hct 24% มีแผนการรักษาให้ PRC 2 unit
เกณฑ์การประเมิน : เลือดออกไม่เกิน 200/cc/2hr (2ผืนผ้าอนามัย)
การพยาบาล
ตรวจสอบลักษณะแผลฝีเย็บและจำนวนน้ำคาวปลาทุก 30 นาทีเพื่อประเมินการสูญเสียเลือด
ดูแลกระเพราะปัสสาวะให้ว่างถ้ามารดาไม่สามารถปัสสาวะได้เองควรสวนปัสสาวะให้เพื่อไม่ให้กระเพาะปัสสาวะกดเบียดมดลูกทำให้มดลูกหดรัดตัวได้ดียิ่งขึ้น
ตรวจสอบความสูงของยอดมดลูกและการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาทีเพื่อประเมื่นตำแหน่งและการหดรัดตัวของมดลูกกรณีที่มดลูกนุ่มคลึงมดลูกให้หดรัดตัวดีและกดไล่ก้อนเลือดเพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวดีลดภาวะตกเลือดหลังคลอด
เกิดภาวะเเทรกซ้อนเนื่องจากได้รับยาป้องกันการชัก
เกณฑ์การประเมินผลไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา
ข้อมูลสนับสนุน 0: ความดันโลหิตสูง 150/90 mmHg, ได้รับยา MgSO4
การพยาบาล
ประเมิน Deep tendon reflex ทุก 1-4 ชั่วโมงถ้าเท่กับ 0 ให้หยุดยา
เตรียม 10% Calcium gluconate ไว้ให้พร้อมใช้เนื่องจาก 1066 Calcium gluconate
บันทึกจำนวนน้ำเข้า-ออกจากร่างกายทุก 1 ชั่วโมงถ้าปัสสาวะออกน้อยกว่า 25 ซีซีต่อชั่วโมงหรือน้อยกว่า 100 ซีซีต่อชั่วโมงให้หยุดยา
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาโดยให้ 5% D 1000 cc + 50% MgSOa 10 gm
ให้ยาช้าๆมากกว่า 10-15 นาทีเพื่อป้องกันการเกิดอาการข้างเคียงเช่นคลื่นไส้
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดจากการได้รับยา Mg ร O ตามมาตรฐานการดูแลมารดาหลังคลอด
อธิบายเหตุผลและการให้ยอาการร้อนบริเวณที่ฉีดและร้อนวูบวาบทั่วตัว
เตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉินให้พร้อมใช้เพื่อที่จะให้การช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว
เสี่ยงต่อภาวะชักเนื่องจากความดันโลหิตสูง
เกณฑ์การประเมินผล
BP ไม่เกิน 160/110 mmHg
ทารกในครรภ์มรการเต้นของหัวใจ 120-160bpm
ไม่มีอาการเเสดงนำก่อนชัก เช่น ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกเเน่นลิ้นปี่
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงที่ชักนำก่อนการเกิดการชัก ได้แก่ อาการปวดศีรษะตาพมัวเจ็บใต้ลิ้นปีหรือบริเวณชายโครงขวาเพื่อจะได้เตรียมการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
ตรวจสัญญาณชีพทุกๆ 15 นาทีเพื่อประเมินอาการและอาการแสดงเป็นระยจนกว่าสัญญาณชีพจะปกติ
ดูแลการให้ยกันชักตามแผนกรรักษาของแพทย์และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา MgO.. โดยการตรวจพบว่าอัตราการหายใจมากกว่า 16 ครั้ง / นาทีปัสสาวะออกมามากกว่า 25 ซีซี / ชั่วโมงและเนื่องจากการให้ MgSQ, สามารถทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้จึงจำเป็นต้องเตรียมยา 10% Calcium gluconate ซึ่งเป็นยากระต้นฤทธิ์ของ MgSO4 ไวเสมอ
จัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบลดการกระตุ้นจกแสงเสียงหรือสิ่งใด ๆ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ไดพักผ่อนมากที่สุด
จัดเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นให้พร้อมใช้เช่นออกซิเจนรถ Emergency พร้อมทั้งยาที่ต้องใช้ในกรณีฉุกเฉินเพื่อจะได้ให้การช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว
ข้อมูลสนับสนุน
• s: มารดาบอกว่าปวดหัว จุกเเน่นลิ้นปี่
• O: อายุ16ปี ตั้งครรภ์ครั้งแรก BP 150/90 mmHg ,
petting edema +3, Urine albumin 1+
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคความดัยโลหิตสูงเเละขาดความรู้เกี่ยวกับโรค
ข้อมูลสนับสนุน
• มารดาถามว่า เมื่อความดันโลหิตสูงจะต้องทำอย่างไร เป็นอันตรายไหม ลูกจะเป็นอะไรไหม
• มารดาวัยรุ่น อายุ 18 ปี ขาดความรู้เรื่องการดูเเลตนเอง
เกณฑ์การประเมินผล
มารดาบอกว่ามีความวิตกกังวลลดลง
สีหน้าสดใสขึ้น
การพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ถามเเละเล่าถึงสาเหตุของความวิตกกังวลเเละความกลัว เพื่อคลายความวิตกกังวล
อธิบายถึงสาเหตุ ลักษณะอาการ ภาวะเเทรกซ้อนของความดันโลหิดสูง
เเสดงความเป็นมิตร ปลอบโยนให้รู้สึกอบอุ่น เพื่อคลายความวิตกกังวล เเละความกลัว
ให้กำลังใจเพื่อลดความวิตกกังวล
เเนวทางการรักษาป้องกันภาวะเเทรกซ้อน
ระยะคลอด
Active
นอนตะเเคงซ้ายเเละให้ออกซิเจน
ดูเเลป้องกันความดันโลหิตสูงหลังคลอด
วัดความดันทุก15นาที
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ดูเเลให้ยากันชัก
Latent
จัดสิ่งเเวดล้อม
วัดความดันทุก 2-4ชม
เก็บUrine protein 24hr
ประเมินความวิตกกังวล
ประเมินความรุนแรงอาการบวม
ระยะหลังคลอด
นอนตะเเคงซ้าย
ให้ออกซิเจน face mask 10L/min
ระยะตั้งครรภ์
วัดความดัน ประเมินปวดหัว จุกเเน่นลิ้นปี่
บันทึก fluid intake/ Urine output
Mgso4
สอนนับลูกดิ้น
Admit
เฝ้าระวังทารกโตช้าในครรภ์
Mgso4
ผลข้างเคียงยา
Muscle weakness
Vomiting, Hypotention
Flushing, Sweating, Nausea
ระดับ Mgso4
10 ทำให้ DTRs หาย
12 ทำให้ หยุดหายใจ
5-10 ทำให้ EKG เปลี่ยน
15 ทำให้ หัวใจหยุดเต้น
คำสำคัญ
Pre - eclampsia
ความดันโลหิตสูง ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ ที่เกิดขึ้นใหม่หลังตั้งครรภ์ 20สัปดาหาเเละกลับมาเป็นปกติหลังคลอด มักมีอาการบวมร่วมด้วย
Late deceleration
การลดลงของ FHR อย่างช้าๆ ค่อยไปค่อยไปเเละกลับคืนสู่ baseline อย่างช้าๆ สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
EFM
เครื่องตรวจประเมินการทำงานของหัวใจทารกในครรภ์ เเละประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ขา2ข้าง
HDP