Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 (ต่อ)ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเลือดและอวัยวัสร้างเลือด, image, image, image…
บทที่ 7 (ต่อ)ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเลือดและอวัยวัสร้างเลือด
1.Hemopoietic drug & Hemopoietic growthfactors
Erythropoietins
Myeloid growth factors
3.Megakaryocyte(Thrombopoietic) Growth Factors
สาเหตุของภาวะโลหิตจาง
คือการขาดฮอร์โมนอีริโทรโพอิติน ซึ่งในภาวะปกติร้อยละ 90 ของฮอร์โมนนี้สร้างจากเนื้อไต
สาเหตุอื่นๆ ที่พบได้ร่วมกันของภาวะโลหิตจางในผู้ป่ วยไตวายเรื ้อรังได้แก่ การขาดธาตุเหล็ก การขาดวิตามินบี 12
การรักษาโลหิตจาง
การรักษาภาวะโลหิตจางในผู้ป่ วยไตวายเรื ้อรัง ต้องท าการหาสาเหตุที่แก้ไขได้ก่อน เช่น
การเสียเลือดในทางเดินอาหาร
การขาดธาตุเหล็ก และวิตามินอื่นๆ
หากแก้ไขสาเหตุต่างๆ แล้วแต่ผู้ป่ วยยังมีภาวะโลหิตจางอยู่
• แพทย์จะพิจารณาให้การรักษาด้วยยาฮอร์โมนอีริโทรโพอิติน
ยาอีพีโอ (EPO)
การติดตามประสิทธิภาพในการรักษา
เป้าหมายของระดับฮีโมโกลบินในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังคือ 10-11.5 กรัมต่อเดซิลิตร
โดยแพทย์จะติดตามระดับฮีโมโกลบินทุก 2-4 สัปดาห์ จนกระทั่งระดับฮีโมโกลบินคงที่ และตรวจติดตามเป็นระยะ
ให้ยา EPO เข้าร่างกาย
ยา EPO เป็นยาฉีด สามารถฉีดให้ทางหลอดเลือดดำหรือฉีดเข้าใต้ผิวหนังซึ่งขนาดยาที่ใช้จะแตกต่างกัน
การเก็บรักษายา
เก็บยาในตู้เย็น อุณหภูมิ 2-8 องศา โดยให้เก็บในช่องธรรมดา(ไม่ใช่ช่องแช่แข็ง) ไม่ให้ถูกแสงของตู้เย็น
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด/ยาต้านการจับตัวเป็นก้อนของเลือด (Anti clotting drugs)
ยากันเลือดแข็งตัว (Anticoagulants)
Heparin ขัดขวางการแข็งตัวของเลือด
Warfarin ออกฤทธิ์ยับยั้งการแข็งตัวของเลือด
ยากระตุ้นเม็ดเลือดขาว
Granulocyte colony-stimulating factors (G-CSFs)
a. Filgrastim
b. Lenograstim
c. Nartograstim
d. Pegfilgrastim (pegylated filgrastim)
Granulocyte macrophage colony-stimulating factors (GMCSFs)
a. Sargramostim
b. Molgramostim
c. Regramostim
Warfarin
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้างโปรตีนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด(clotting factor)
รบกวนเอนไซม์ Vitamin K epoxide reductase complex-1
(VKORC-1)
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของ Warfarin
อาหาร : อาหาร ที่มี Vitamin K สูง เช่น กะหล่ าปลี คะน้า ผักโขม ทำให้ลดฤทธิ์ของWarfarin
โรคร่วม
-Hypermetabolic states
-ตับท้างานบกพร่อง
Malnutrition
-หัวใจวาย (Heart Failure)
-Hypothyroidism
อาการข้างเคียงของยา Warfarinมีเลือดออกที่อวัยวะต่างๆ
ยาต้านเกล็ดเลือด (antiplatelet agents)
Aspirin
2 Thienopyridine group
(Ticlopidine และ Clopidogrel)
2.1 Ticlopidine
2.2 Clopidogrel
Thrombolytic drugsยาสลายลิ่มเลือด(thrombolyticdrugs,fibrinolytic drugs)
Tissue plasminogen activators (t-PA)
Streptokinase
Urokinase
Anistreplase
rt-PAหรือAlteplaseเป็นยาฉีดละลายลิ่มเลือด
Heparin
1.Unfractionated heparin (UFH)
Low-molecularweight-heparin
( LMWH )
FACTOR XA INHIBITORS
Direct thrombin inhibitor (DTI)