Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเลือด - Coggle Diagram
บทที่7 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเลือด
Hemopoietic drug & Hemopoietic growth
factors
Myeloid growth factors
.Megakaryocyte (Thrombopoietic) Growth Factors
Erythropoietins
.Anticoagulant
Heparin ขัดขวางการแข็งตัวของเลือด
Heparin ซึ่งยังแบ่งได้อีกเป็น 2 ประเภท คือ
Unfractionated heparin (UFH) ที่ใช้เฉพาะรักษาโรคลิ่มเลือดในหลอด
เลือดด าเฉพาะผู้ป่วยขณะอยู่ในโรงพยาบาลเท่านั้น
Low molecular weight heparin (LMWH) เช่น อีน็อกซะแพริน(Enoxaparin
Warfarin ออกฤทธิ์ยับยั้งการแข็งตัวของเลือด
ข้อปฏิบัติตนส้าหรับผู้ป่วยที่ได้รับยา Warfarin
หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาที่มีการกระทบกระแทก
สวมถุงมือหากต้องใช้อุปกรณ์มีคม
ลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ระมัดระวังการลื่นล้ม โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอาย
สวมหมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่รถจักรยานยนต์
หลีกเลี่ยงการนวดที่รุนแรง
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้าม
แจ้งแพทย์หรือทันตแพทย์ทุกครั้งว่ารับประทานยา Warfarin
หากมีการย้ายถิ่นฐาน ให้น าประวัติผู้ป่วยจากโรงพยาบาลเดิมมาด้วย
ยาต้านเกล็ดเลือดกุ่มใหม่
Clopidrogrel เป็นยาที่มียอดจ าหน่ายสูงสุดเป็นอันดับสองในกลุ่มของยา
ต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือดantiplatelets) ที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ปัญหาที่พบขณะน
อะไรเป็นสาเหตุของภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง
สาเหตุส่วนใหญ่ของภาวะโลหิตจางในผู้ป่ วยไตวายเรื ้อรัง คือการขาด
ฮอร์โมนอีริโทรโพอิติน ซึ่งในภาวะปกติร้อยละ 90 ของฮอร์โมน
สาเหตุอื่นๆ ที่พบได้ร่วมกันของภาวะโลหิตจางในผู้ป่ วยไตวายเรื้อรังได้แก่ การขาดธาตุเหล็ก การขาดวิตามินบี 12 การขาดกรดโฟลิค การเสียเลือดจากระบบทางเดินอาหาร นอกจากนี ้เม็ดเลือดแดงในผู้ป่วยไต
วายเรื้อรังยังแตกง่าย ทำให้อายุของเม็ดเลือดแดงสั้นลงอีกด้วย
การรักษาภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง
การรักษาภาวะโลหิตจางในผู้ป่ วยไตวายเรื ้อรัง ต้องท าการหาสาเหตุที่
แก้ไขได้ก่อนการเสียเลือดในทางเดินอาหาร
• การขาดธาตุเหล็ก และวิตามินอื่นๆซึ่งหากแก้ไขสาเหตุต่างๆ แล้วแต่ผู้ป่ วยยังมีภาวะโลหิตจางอยู่
• แพทย์จะพิจารณา
แพทย์จะพิจารณาให้การรักษาด้วยยาฮอร์โมนอีริโทรโพอิติน(หรือที่
นิยมเรียกว่า EPO, อีพีโอ) ซึ่งใช้เพื่อทดแทนการขาดฮอร์โมนอีริโทรโพอิตินในร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุหลักในผู้
ป่วยไตวายเรื้อรัง
ยาอีพีโอ (EPO) คือ
ยาฮอร์โมนอีริโทโพอิติน
(erythropoietin) มีโครงสร้างเป็นไกลโคโปรตีน ผลิตโดยใช้
เทคโนโลยีการตัดต่อดีเอ็นเอ (recombinant DNA)โดยมี
การเรียงต่อของล าดับกรดอะมิโนเหมือนกับฮอร์โมนอีริโทรโพอิตินที่
ถูกสร้างในร่างกาย
ให้ยา EPO เข้าร่างกายอย่างไร
การฉีดยำเข้ำทำงหลอดเลือดด ำ
ควรฉีดอย่างช้าๆ ประมาณ 1-5 นาที
ยาและขนาดของยาที่ได้รับ ในกรณีที่ผู้ป่ วยได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
สามารถให้ยาเข้าในเส้นเลือดที่ใช้ในการฟอกเลือดได้โดยให้ไปใน
ระหว่างการฟอกเลือดได้เลย
การฉีดยำเข้ำใต้ผิวหนัง
ปริมาตรที่มากที่สุดส าหรับการฉีดยาแต่ละครั ้้งคือ1 มิลลิลิตร ถ้าต้องให้ยาในปริมาณที่มากกว่านี ้ ให้พิจารณาฉีดในตำแหน่งอื่นเพิ่ม ตำแหน่งที่ใช้ในการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ได้แก่ ต้นแขน ต้นขา หรือผนังหน้าท้อง โดยให้ห่างจากสะดือ ฉีดสลับตำแหน่งไปในแต่ละครั ้้้้้้ง
สารกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือด
(Hematopoietic growth factor)
เป็นไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างเม็ดเลือด ได้แก่ GMCSF (granulocyte-monocyte colony-stimulating
factor)กระตุ้นการสร้าง granulocyte และ macrophage,
ยากระตุ้นเม็ดเลือดขาว
ยาเคมีบำบัดที่ใช้เป็นยารักษาโรคมะเร็งนั้นป็นที่ทราบกันดีว่ามีผลข้างเคียง
หลายประการ เพราะยาเคมีบำบัดดส่วนใหญ่
Granulocyte colony-stimulating factors (G-CSFs)
Granulocyte macrophage colony-stimulating factors (GMCSFs)
การห้ามเลือด (Hemostasis)
การห้ามเลือดของร่างกาย เป็นขบวนการทางชีวเคมีที่ส าคัญของร่างกายย เพื่อ
ควบคุมให้เลือดคงสภาพเป็นของเหลวไหลเวียนเป็นปกตภายในหลอด
เลือด และเปลี่ยนสภาพเป็นลิ่มเลือด
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด/ยาต้านการจับตัวเป็นก้อนของ
เลือด (Anti clotting drugs)
ยากันเลือดแข็งตัว (Anticoagulants)
• ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet drugs)
• ยาสลายลิ่มเลือด(Thrombolytics drugs หรือ Fibrinolytic drugs)
การติดตามการรักษา
ติดตาม ผลการรักษาโดยวัดค่า INR (International
Normalized Ratio) ซึ่งคำนวณจาก