Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย, นางสาวอารียา เจริญศรี รหัสนิสิต…
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเป็นการต่อเนื่องเชื่อมโยงหรือสาเหตุติดต่อกันไป
การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบเดียวกัน
บางสังคมเปลี่ยนแปลงได้เร็วกว่าบางสังคมเท่านั้น
การเปลี่ยนแปลงเป็นอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น
เป็นที่จะต้องทาให้เกิดขึ้น เพื่อให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความเท่าเทียมกันในสังคม
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ
เกิด แก่ เจ็บ ตาย
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางวัฒนธรรม
การเลียนแบบและการหยิบยืมวัฒนธรรม รวมทั้งการผสมผสานทางวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนแปลงสังคมโดยการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางกายภาพ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ดาราศาสตร์และด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ปัจจัยด้านขบวนการสังคม
การกระทำร่วมกันของกลุ่มคนที่มีอุดมการณ์ตรงกันเพื่อต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของสังคม
ปัจจัยทางประชากร
อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่นฐานและปริมาณของเพศ
ปัจจัยทางจิตวิทยา
การเปลี่ยนแปลง ค้นคว้าสิ่งใหม่ ๆ หาประสบการณ์ใหม่ ๆ มนุษย์ในสังคมทุกแห่งจะมีแนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีของตน
ปัจจัยทางชีววิทยา
องค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งเป็นตัวกาหนดสมาชิกตัวประกอบการเลือก คุณภาพทางด้านพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ
ปัจจัยอื่น ๆ
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางการศึกษา
ปัจจัยทางการเมืองและการทหาร
ปัจจัยทางศาสนาและอุดมการณ์ความคิด
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาค่าใช้จ่าย
ปัญหาอันเป็นผลต่อเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงพัฒนาซึ่งประสบความสำเร็จตามเป้าหมายในเรื่องหนึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาอื่นที่ไม่คาดคิดมาก่อน
ปัญหาการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับทิศทางการดำเนินการของรัฐหรือถูกดึงให้กลายเป็นประเด็นโต้แย้งทางการเมืองจนก่อให้เกิดปัญหา
ปัญหาความไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลง
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลกและการรับวัฒนธรรมตะวันตกมาเลียนแบบ
ความเจริญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา
ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
การตอบสนองความต้องการของมนุษย์เพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ซับซ้อนกับวัฒนธรรมภาษาดั้งเดิมของไทยซึ่งสลับซับซ้อนเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตก
ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้ามา
การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตกหรือวัฒนธรรมสมัยใหม่ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เรียบง่าย
ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชนต่าง ๆ
การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่ภาษาเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการออกเสียง คำศัพท์ รูปแบบและลักษณะอื่นอื่นตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป
ภาษาวิบัติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยภายนอก
ระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีการพิมพ์
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
การปฏิรูปการศึกษา สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
ปัจจัยภายใน
ความสมมาตรในภาษาซึ่งเห็นได้ในระบบเสียง
ความประหยัด ไม่ให้คำที่มีรูปเหมือนกัน 2 รูปมีความหมายเหมือนกันทุกประการ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน
ผลกระทบจากการใช้ภาษาวิบัติ
ความสัมพันธ์ของมนุษย์
ความสัมพันธ์กับโครงสร้างของสังคม
การเปลี่ยนภาษา
ความอยู่รอดของภาษาไทยในยุคดิจิตอล
ปลูกฝังวัฒนธรรมรักการอ่าน
ปลุกจิตสำนึกในการหวงแหนภาษาไทยและรู้กาลเทศะการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้องการ
เปลี่ยนแปลงตัวเอง เมื่อเรารู้ว่าคำใดใช้ผิดหรือถูก
ภาษาไทยในยุค 4.0
เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี
เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น
เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม
นางสาวอารียา เจริญศรี รหัสนิสิต 60206587 วิทยาลัยการศึกษา คณิตศาสตร์ Sec.2