Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยฟื้นชีวิตในทารกและเด็ก, นางสาวภวิษย์พร บูรวัตร 61106662 Sec.1 กลุ่ม…
การช่วยฟื้นชีวิตในทารกและเด็ก
ความหมาย
การแก้ไขการตายอย่างกะทันหันที่เกิดจากภาวะหยุดหายใจ หรือจากภาวะหัวใจหยุดทำงาน
การวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะ Cardiopulmonary Arrest (ต้องทำอย่างรีบด่วนภายใน 5-10 วินาที)
บางรายอาจมีอาการชักได้
ซีด เขียว ซึ่งจะเห็นได้ชัดที่หน้า ริมฝีปาก และเล็บมือเล็บเท้า
หมดสติ ซึ่งจะเกิดเมื่อหัวใจหยุดทำงานไปประมาณ 3-6 นาที
ไม่หายใจ หรือมีหายใจกระตุกเป็นช่วงๆนานๆครั้ง
คลำชีพจรไม่ได้โดยเฉพาะที่ซอกคอ ข้อพับแขน และขาหนีบ
ฟังเสียงเต้นของหัวใจไม่ได้ หรือฟังได้แต่ช้ามาก
รูม่านตาขยายและไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง ซึ่งจะเริ่มเกิดเมื่อหัวใจหยุดทำงานไป 45 วินาที และจะขยายเต็มที่เมื่อ 1 นาที
ภาวะของหัวหยุดทำงาน แบ่งเป็น 3ประเภทคือ
เวนตริเคิลเต้นแบบฟิลบริลเลชั่น (Ventricular Fibrillation) คลื่นไฟฟ้าหัวใจจะเป็นลักษณะ คล้ายฟันเลื่อย
เวนตริเคิลเต้นแต่ไม่มีการไหลเวียนของเลือด (Electromechanical Dissociation)
เวนตริเคิลหยุดเต้น (Ventricular Asystole) คลื่นไฟฟ้าจะเป็นเส้นตรง
สาเหตุของการที่หัวใจหยุดทำงาน
มี Air Embolism ขนาดใหญ่
อุบัติเหตุบางอย่าง เช่น ไฟฟ้าช็อค (Electric Shock), จมน้า (Near Drowning)
การได้รับยาเกินขนาด (Drug Overdose) เช่น Digitalis, Potassiun
การได้รับเลือด (Blood Transfusion) ที่เย็นมากและเร็วเกินไป
ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย (Severe Electrolyte lmbalance)
ปฏิกิริยาจากการกระตุ้นประสาทเวกัส (Vago Vagal Reflex)
ภาวะไม่สมดุลของกรดและด่างในร่างกายอย่างรุนแรง (Severe Acid-Base lmbalance)
ความดันโลหิตต่ำอย่างรุนแรง (Severe Hypotension) หรือมีภาวะช็อค (Shock)
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่าปกติมาก (Hypothermia)
มีภาวะการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน (Acute Respiratory Failure) และเกิดภาวะ Respiratory Arrest
การทำงานของหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง (Severe Heart Failure)
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Cardiac Temponade)
หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmias) เช่น Ventricular Tachycardia (VT),Ventricular Fibrillation (VF)
โรคหัวใจ
มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำมาก (Hypoglycemia)
การประเมินและการช่วยฟื้นชีวิตในผู้ป่วยเด็ก
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (Decrease Level of Consciousness)
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้ออ่อนแรงแบบ Flaccid Tone
มีภาวะการหายใจลำบาก (Respiratory Distress)
ผนังทรวงอกบุ๋ม (Chest Wall Retraction)
มีเสียงหายใจออกลาบาก (Expiratory Grunting)
หายใจตื้น (Shallow Respiration)
ปลายจมูกบาน (Nasal Flaring)
หายใจเร็ว (Rapid Respiration)
หายใจสะอึกกระตุกลึกและอ้าปากหายใจเป็นช่วงๆ (Air Hunger)
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
Capillary Refill ไม่ดี
เขียว ซีดโดยเฉพาะที่ผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ
ชีพจรส่วนปลาย (Peripheral Pulse) เบา
ตัวลาย (Mottling)
การให้การช่วยฟื้นชีวิต (CPR)
B = Breathing คือขั้นตอนการช่วยหายใจ
C = Circulation คือขั้นตอนการช่วยให้โลหิตไหลเวียน
3.1 Assessment : Determine Pulselessness หรือ การประเมินการทำงานของหัวใจ โดยการ คลพชีพจรที่ซอกคอ (Carotid Pulse) ที่ข้อพับแขน (Brachial Pulse)
3.2 Perform Chest Compression คือขั้นตอนการนวดหัวใจแพทย์หรือพยาบาลเตรียมทาการนวดหัวใจจาก ภายนอก (External Chest Compressions)
ตำแหน่งการทำ External Chest Compression ในเด็กโต
ลักษณะการทำ External Chest Compression ที่ถูกต้องในเด็กโต
การทำ External Chest Compression ในทารกแรกเกิด
ตำแหน่งการทำ External Chest Compression ในเด็กเล็ก
การคลำ Carotid Pulse ในเด็กโต
การคลำ Brachial Pulse ในเด็กเล็ก
A = Airway คือขั้นตอนการทำทางเดินหายใจให้โล่ง
1.4 Open the airway หรือ เปิดทางเดินหายใจ
1.1 Assessment หรือการประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
1.3 Position the victim หรือ การจัดท่าผู้ป่วยระหว่างรอแพทย์
1.2 Call for help หรือ การเรียกขอความช่วยเหลือ
อุปกรณ์สำหรับใช้ในการช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
อุปกรณ์สำหรับการดูดเสมหะ
• ลูกสูบยางแดง (Bulb syringe)
• เครื่องสาหรับดูดเสมหะ (Mechanical suction)
• Meconium aspirator
• NG-tube for feeding และ syringe 20 cc.
• สายสาหรับดูดเสมหะ (Suction catheter) ขนาด 5F or 6F, 8F และ10F หรือ 12F
อุปกรณ์สำหรับการให้ออกซิเจน
• Infant resuscitation bag with reservoir (the bag must be capable of delivering 90% to 100% oxygen)
• Face masks หลายขนาด สาหรับ newborn and premature sizes
• Oxygen with flow meter (flow rate up to 10 L/min) and tubing
อุปกรณ์สำหรับการใส่ท่อช่วยหายใจ
• Laryngoscope with straight blades
No. 0 สำหรับทารกคลอดก่อนกำหนดและ No. 1 สำหรับทารกครบกำหนด
• Endotracheal tube sizes 2.5, 3.0, 3.5, 4.0 mm.
• กรรไกร
• Extra bulbs and batteries for laryngoscope
• Stylet
อุปกรณ์สำหรับใส่สายumbili calcatheter
• umbilical artery catheterization tray
• umbilical tape
• umbilical catheters
• 3-way stopcocks
ยาต่างๆ
• Naloxone hydrochloride 0.4 mg/mL 1-mL ampules; or 1.0 mg/mL 2-mL ampules
• Sodium bicarbonate 4.2% (5 mEq/10 mL) 10-mL ampules
• Normal saline, 30 mL
• Isotonic crystalloid (normal saline or Ringer’s lactate) for volume expansion 100 or 250 mL
• Epinephrine 1:10 000 (0.1 mg/mL) 3-mL or 10-mL ampules
• Dextrose 10%, 250 mL
อุปกรณ์อื่นๆ
• Radiant warmer or other heat source
• พลาสเตอร์, ถุงมือปราศจากเชื้อ, Syringes, Needles
• Stethoscope
• Cardiac monitor and electrodes and/or pulse oximeter with probe (optional for delivery room)
• Firm, padded resuscitation surface
• Oropharyngeal airways
การช่วยเหลือทารกที่สำคัญๆ
การช่วยเหลือพื้นฐานหรือขั้นต้น (Basic step)
• การดูแลเรื่องความอบอุ่นและป้องกันการสูญเสียความร้อนให้แก่ทารก(Warmth)
• เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง(Clearing the airway)
• การจัดท่านอนสำหรับทารก (Positioning)
• การดูดเสมหะ(Suctioning)
• Clearing the airway of meconium
• 14Fโดยแรงท่ีใช้ดูดไม่ควรเกิน80mmHg
• Tactile stimulation
• Oxygen administration
Ventilation
ข้อบ่งชี้ในการให้ PPV
ทารกหายใจแต่มีอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า100 คร้ังต่อนาที
ทารกท่ีมีภาวะcyanosis
ในรายท่ีทารกมี apnea หรือ gasping respirations
ทารกท่ีไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นการหายใจ
ทารกท่ีไม่หายใจ
ข้อบ่งชี้ในการใส่ท่อหลอดลมคอ endotracheal tube (ET tube)
ทารกที่สงสัยว่ามี Diaphragmatic hernia
ทารกท่ีมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัมและไม่มีการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง
ต่อนาที
ความลึกของtube สามารถคำนวณได้จากสูตรดังต่อไปน้ี
น้ำหนัก (กิโลกรัม) + 6 เซนติเมตร = ระดับความลึก ณ ตาแหน่งท่ีขอบปากของทารก
ตารางแสดงขนาดของท่อหลอดลมคอและความยาวของท่อหลอดลมคอจากปลายท่อถึงริมฝีปากตาม น้ำหนักและอายุครรภ์ของทารก
ทารกท่ีต้องช่วยเหลือโดยการทำ Chest compression
ทารกได้ทำ PPVด้วย bag และ mask แล้วแต่อาการไม่ดีข้ึน
ทารกที่มีน้ำคร่ำและขี้เทาใน trachea และต้องดูดออก
Chest compression
3.1 Two-finger technique
การเอานิ้วกลางและนิ้วชี้วางลงบนกระดูกหน้าอก (sternum) ในระดับต่ำกว่าราวนมและเหนือล้ินปี่ในแนวตรง โดยให้ระดับของนิ้วท้ังสองอยู่ในแนวเดียวกัน กดลงลึกประมาณ 1/3 ของ anterior-posterior (AP) diameter ของทรวงอกทารก
3.2 Thumb technique
การเอามือ 2 ข้างโอบรอบทรวงอกของทารก โดยให้ฝ่ามือแนบกับแผ่นหลังของทารก แล้ววางนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างบนกระดูกหน้าอก (sternum) ชิดกันหรือนิ้วหัวแม่มือทั้ง สองอาจวาง ซ้อนกันถ้าหากทรวงอกของทารกเล็กมาก
ภาวะแทรกซ้อนของการทา CPR
มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีเลือดออกภายใน
กระดูกหน้าอกหัก
กระดูกซี่โครงหัก
กระดูกซี่โครงแยกออกจากกระดูกหน้าอก
อวัยวะภายในฉีกขาด
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
8.อาเจียนและ Regurgitation ซึ่งอาจเป็นผลทำให้เกิด Aspirated Pneumonia
1.ปอดช้ำ
CPR จะมีประสิทธิภาพดีได้ผลข้ึนอยู่กับ
อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
• ชุดให้ออกซิเจน(Flow meter พร้อมสายยาง)
• ชุดดูดเสมหะท่ีสะอาดปราศจากเชื้อ
• รถ Emergency
• Portable E.C.G
• Defibrillator
บุคลากรควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนในการทำ CPR
• ภายหลังการทำ CPR ทุกคร้ังควรประเมินโดยเฉพาะในจุดที่ยังบกพร่องและหาทางแก้ไข
• ติดตามและศึกษาหาความรู้เก่ียวกับ CPR ที่ทันสมัยและนามาดัดแปลงใช้ในหอผู้ป่วย
• ควรมี CPR Record Flow Sheet สำหรับจดบันทึกข้อมูลระหว่างการทำ CPR
• ควรมี CPR Card หรือ CPR Drug Flow Sheet สำหรับผู้ป่วยแต่ละรายท่ีเสี่ยงการเกิดภาวะ
หัวใจหยุดทำงานโดยให้แพทย์กรอกข้อมูลในการให้ยา
ทีมCPR
• กุมารแพทย์ (1-2 คน)
• วิสัญญีแพทย์ (บางกรณี)
• พยาบาลประจำหอผู้ป่วย
สรุปบทบาทของพยาบาลเกี่ยวกับการทำ CPR
พยาบาลต้องมีความรู้ความสามารถในการประเมินผลและวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมี Cardiac Arrest
พยาบาลควรมีสติและไม่ตกใจเมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดข้ึน
พยาบาลจะต้องมีความรอบคอบช่างสังเกตและสามารถจัดเตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉินได้ทันและเร็วในขณะที่
Cardiac Arrest เกิดข้ึน
พยาบาลควรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาขนาดของยาและเครื่องมือต่างๆในการทำCPR
พยาบาลต้องมีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับขั้นตอนการทำท่ีถูกต้องและทันสมัย
พยาบาลควรมีการตรวจเช็คเครื่องมือต่างๆท่ีเกี่ยวกับการทำให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้อยู่เสมอ
ทารกแรกเกิดควรได้รับการดูแล ดังต่อไปนี้
การช่วยกู้ชีพขั้นเบื้องต้น ได้แก่ การให้ความอบอุ่น จัดท่าเพื่อเปิดทางเดินหายใจโล่งหรือดูด
เสมหะเมื่อจำเป็น เช็ดตัวทารกและกระตุ้นทารก
การช่วยหายใจ ในการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
การให้ยา epinephrine และหรือสารน้ำ (volume expansion)
การกดหน้าอก
นางสาวภวิษย์พร บูรวัตร 61106662 Sec.1 กลุ่ม 2