Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่10บัญชียาหลักแห่งชาติ ยาสามัญประจำบ้าน, ดาวน์โหลด (5), ดาวน์โหลด (2),…
บทที่10บัญชียาหลักแห่งชาติ ยาสามัญประจำบ้าน
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกยา
1)ระบบการคัดเลือกยาต้องเป็นไปตามความจำเป็นในการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประเทศไทยเป็นหลัก
2)ระบบการคัดเลือกต้องแสดงข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ละเอียดพอเอื้อให้เกิดการใช้ข้อมูลครบถ้วนในการตัดสินใจ
3.การคัดลือกและแสดงรายการยา ให้ใช้ชื่อสามัญของยา รูปแบบยา ความแรงของยา ขนาดบรรจุ ยกเว้นกรณีที่ไม่ระบุจึงใช้ความแรงและขนาดบรรจุอื่นได้
5.ต้องคำนึงข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ด้านค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ราคายา ควาามสามารถในการใช้จ่าย
4.ต้องคำนึงถึงข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพยา
6.ในกรณีที่ยามีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์การพิจารณา แต่ไม่มีการขึ้นทะเบียนตำรับยา
กรณียาที่อยู่ระหว่างการติดตามความปลอดภัย (Safety Monitoring Program: SMP)และข้อบ่งใช้ของยาที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในเอกสารกำกับยา (off label indication)ให้ดำเนินการคัดเลือกตามเกณฑ์ดังนี้ 7.1 ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติต้องมิใช่ยาที่อยู่ระหว่างการติดตามความปลอดภัย (Safety Monitoring Program: SMP) เว้นแต่ก) เป็นยาในบัญชีจ (1) ซึ่งมีระบบกำกับดูแลที่เข้มงวดกว่าระบบ SMP ข) เป็นยาบางรายการที่สามารถช่วยเพิ่มการแข่งขันหรือลดการผูกขาดหรือทำให้ราคายาหรือค่าใช้จ่ายในการรักษาลดลงอย่างชัดเจนหรือช่วยเพิ่มกรอบรายการยาให้สามารถครอบคลุมยาที่มีประสิทธิภาพดีกว่าอย่างชัดเจน7.2 เนื่องจากการใช้ยาในข้อบ่งใช้ที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในเอกสารกำกับยา (off-label indication)
ยาในบัญชีจ (2) มีเกณฑ์การพิจารณาเพิ่มเติมเป็นการเฉพาะกล่าวคือเป็นยาที่จำเป็นต้องใช้สำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
ควรเป็นยาเดี่ยวหากจำเป็นต้องเป็นยาผสมจะต้องมีข้อมูลที่เชี่ยนได้ที่แสดงว่ายาผสมมีข้อดีกว่าหรือเท่าเทียมกับยาเดี่ยวในด้านความปลอดภัยประโยชน์และค่าใช้จ่าย
หากเป็นยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ให้ระบุข้อบ่งใช้และเงื่อนไขการสั่งใช้ยาเพื่อให้การใช้ยาดังกล่าวเป็นไปตามขั้นตอน
บัญชียาหลักแห่งชาติ
รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย (๑) บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข (๒) บัญชียาจากสมุนไพร "บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข”หมายความว่า รายการยาแผนปัจจุบันส าหรับใช้ในโรงพยาบาล “บัญชียาจากสมุนไพร” หมายความว่า รายการยาจากสมุนไพร
การจัดประเภทรายการยา
ออกเป็นบัญชีย่อย 5 บัญชี ได้แก่ บัญชี ก ข ค งและ จ ตามคุณลักษณะของยาแต่ละรายการ ความจำเป็นต้องใช้ในสถานพยาบาลระดับต่างๆ
บัญชี ก
คือ รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
เหมาะกับสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิที่ไม่มีแพทย์ประจ า เช่น รพสต
บัญชี ข คือ รายการยาที่ใช้สำหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชี ก ไม่ได้ หรือไม่ได้ผล หรือใช้เป็นยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจำเป็น
บัญชี ค หมายความว่า รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทางโดยผู้ชำนาญ
บัญชี ง หมายถึง รายการยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้
บัญชี จ บัญชี จ(๑)รายการยาสำหรับโครงการพิเศษของกระทรวง บัญชี จ(๒) รายการยาสำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะ
การแสดงชื่อสามัญทางยา (Generic name)และรูปแบบของยา (Dosage form
ยาส่วนใหญ่จะแสดงด้วยชื่อสามัญทางยา
ในกรณีเป็นเภสัชตำรับโรงพยาบาลจะระบุอักษร
เงื่อนไขการสั่งใช้ยาหากยารายการใดมีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้ หรือมีแนวโน้มว่าจะมีการสั่งใช้ไม่ถูกต้อง จะระบุข้อบ่งใช้ไว้ในเงื่อนไขการสั่งใช้ยา
การแสดงรูปแบบยา (dosage form) ยาเม็ด,ยาฉีด,ยาน้ำ,ยาเหน็บ,ยาทา,ยาพ่น,ยาสำหรับสูดดม,ยาอมใต้ลิ้น,ยาตา ยาหู ,ยาอม,ยาดมสลบ
ยาสามัญประจำบ้าน*
ล่าสุดยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ ๕) ๒๕๕๕
ยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ
ยาขับลม
ยาระบาย
ยาแก้ท้องเสีย
ยาเม็ดลดกรด
การจำแนกตามกฎหมาย
1.ยาแผนปัจจุบัน หมายถึง ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน
2.ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
ยาอันตราย คือ ยาแผนปัจจุบันที่มีอันตราย
สูงกว่ายาสามัญประจำบ้าน
4.ยาสามัญประจำบ้าน คือ ยาที่กระทรวง
สาธารณสุขคัดเลือกไว้ให้ประชาชน
ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จที่มิใช่ยาอันตราย
คือ ยาแผนปัจจุบันที่กระทรวงสาธารณสุขมิ
ได้จัดให้เป็นยาสามัญประจำบ้าน ยาควบคุมพิเศษ
ยาควบคุมพิเศษ คือ ยาแผนปัจจุบันที่
ก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย
7.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและยาเสพติด
คือ ยาแผน
ปัจจุบันที่ก่อให้เกิดการเสพติดได้ง่าย
การแบ่งยาตามพระราชบัญญัติยา
จำแนกยาตามกฎหมาย แบ่งออกเป็น 7 ประเภท
1.ยาแผนปัจจุบัน 2.ยาแผนโบราณ 3.ยาอันตราย 4.ยาสามัญประจำบ้าน 5. ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ 6.ยาควบคุมพิเศษ 7.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและยาเสพติด