Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cardiopulmonary Resuscitation (CPR), cpr7, NR2010a, 61104824 บุญทิตา…
Cardiopulmonary Resuscitation (CPR)
การวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะ Cardiopulmonary Arrest (ต้องทำอย่างรีบด่วนภายใน 5-10 วินาที)
หมดสติ
ซีด เขียว
ไม่หายใจ
คลำชีพจรไม่ได้โดยเฉพาะที่ซอกคอข้อพับแขน และขาหนีบ
ฟังเสียงเต้นของหัวใจไม่ได้หรือฟังได้แต่ช้ามาก
รูม่านตาขยายและไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
บางรายมีอาการชัก
ภาวะของหัวหยุดทำงาน
เวนตริเคิลหยุดเต้น (Ventricular Asystole) คลื่นไฟฟ้าจะเป็นเส้นตรง
เวนตริเคิลเต้นแบบฟิลบริลเลชั่น (Ventricular Fibrillation) คลื่นไฟฟ้าหัวใจจะเป็นลักษณะ
คล้ายฟันเลื่อย
เวนตริเคิลเต้นแต่ไม่มีการไหลเวียนของเลือด (Electromechanical Dissociation)
การให้การช่วยฟื้นชีวิต
ทารก = ABC
A = Airway
Assessment
Call for help
Position the victim
นอนหงายราบไม่หนุนหมอน หรือสอดไม้กระดานรองหลังผู้ป่วย
Open the airway
B = Breathing
C = Circulation
Assessment : Determine Pulselessness
Perform Chest Compression
เด็ก = CAB
External Chest Compressions
ผู้ป่วยเด็กโต
ให้ผู้ทำการช่วยเหลือวางสันมือลงบนส่วนกลางค่อนไปข้างล่างของกระดูกหน้าอก หรือ
ประมาณ 2 นิ้วมือเหนือ Xyphoid Process และวางสันมืออีกข้างหนึ่งทับบนมือแรก ให้แขนทั้ง 2 เหยียดตรง
โดยกดให้หน้าอกยุบลงประมาณ 1ใน 3ของความหนาของทรวงอกและด้วยอัตราเร็วอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที
ผู้ป่วยทารก
ถ้าจับชีพจรไม่ได้หรือในเด็กเล็กที่อายุต่ำกว่า 1 ปี ชีพจรจะเต้นช้ามาก (น้อยกว่า 60ครั้งต่อนาที) ให้กดหน้าอกโดยผู้ทำใช้มือทั้งสองข้างอ้อมไปทางด้านหลังของผู้ป่วยในลักษณะมือทั้งสองข้าง ประสานกันเพื่อรองหลังให้เกิดแรงต้านแทนกระดานรองหลังและขณะนวดหัวใจ และอ้อมนิ้วหัวแม่มือมา ด้านหน้าของผู้ป่วย กดหัวแม่มือทั้งสองลงบริเวณส่วนกลางของกระดูกหน้าอก
เด็กตัวโตไม่สามารถอ้อมนิ้วมือดังกล่าวได้ให้ใช้สองนิ้วมือวางลงที่กระดูกหน้าอกที่ตำแหน่งใต้ราวนมประมาณ 1นิ้วมือ
15 : 2 ในกรณีมีผู้ช่วยเหลือ 2 คน
30: 2 ในผู้ช่วยเหลือ 1 คน
ทารกแรกเกิดควรได้รับการดูแล ดังต่อไปนี้
การช่วยกู้ชีพขั้นเบื้องต้น ได้แก่ การให้ความอบอุ่น จัดท่าเพื่อเปิดทางเดินหายใจโล่งหรือดูด
เสมหะเมื่อจำเป็น เช็ดตัวทารกและกระตุ้นทารก
การช่วยหายใจ ในการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก มีข้อบ่งชี้คือ เมื่อทารกหยุดหายใจ หายใจเฮือก (Gasping) หรืออัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที หรือมีภาวะตัวเขียวขณะให้ออกซิเจนความเข้มข้น 100%
การกดหน้าอก
การให้ยา epinephrine และหรือสารน้ำ (volume expansion)
การช่วยเหลือทารกที่สำคัญ
1.การช่วยเหลือพื้นฐานหรือขั้นต้น (Basic step)
การดูแลเรื่องความอบอุ่นและป้องกันการสูญเสียความร้อนให้แก่ทารก (Warmth)
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง (Clearing the airway)
Positioning
ควรจัดให้ทารกนอนหงายหรือนอนตะแคง โดยแนวของศีรษะควรตรงและเงยหน้าเล็กน้อยเพื่อเปิดทางเดินหายใจให้โล่งซึ่งอาจใช้ผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวม้วนรองใต้ไหล่
ของทารกสูงจากพื้นที่ทารกนอนประมาณ2 - 3 เซนติเมตร (3/4 – 1 นิ้ว)
การดูดเสมหะ (Suctioning) โดยการดูดเสมหะในปากควรทำทันทีภายหลังจากที่คลอดศีรษะของ
ทารกแล้ว หลังจากนั้นจึงดูดในคอและจมูกตามลำดับ
Clearing the airway of meconium ในกรณีที่น้ำคร่ำของมารดามีขี้เทาปนเปื้อน
Tactile stimulation การกระตุ้นทารกควรกระตุ้นโดยการตีหรือดีดฝ่าเท้า หรือใช้ฝ่ามือลูบที่หลังทารก
Oxygen administration ข้อบ่งชี้ในการให้ออกซิเจนแก่ทารกแรกเกิดคือ ให้ 100%
Ventilation
ข้อบ่งชี้ในการให้ PPV
ทารกที่ไม่หายใจ
ทารกที่ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นการหายใจ
ในรายที่ทารกมี apnea หรือ gasping respirations
ทารกหายใจ แต่มีอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที
ทารกที่มีภาวะ cyanosis แม้ว่าได้ให้ 100% ออกซิเจน ผ่านทาง face mask and flow-inflating bag หรือ oxygen mask หรือ วิธี hand cupped around oxygen tubing
Chest compression
Two-finger technique
Thumb technique
DRUGS USED IN PEDIATRIC ACLS
Adrenaline
เป็นทั้ง alpha และ beta receptor ช่วยให้หัวใจบีบตัวและเต้นเร็วขึ้น
Atropine
Lidocaine
Cordarone
Dopamine
Dobutamine
10% calcium gluconate
Sodium Bicarbonate
2 more items...
ช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจและยับยั้งการทำงานของ K
ออกฤทธิ์โดยตรงต่อ beta receptor ทำให้เพิ่มแรงบีบตัว CO เพิ่มขึ้้น
ช่วยให้หัวใจบีบตัวแรงและเพิ่มแรงดันหลอดเลือด
เป็นยา parasympathothelytic ทำให้หัวใจบีบตัวและเต้นเร็ว
ควรหยุดทำ CPR
กรณีที่ CPR แล้วไม่ตอบสนองต่อ CPR เมื่อ CPR > 1 hr มี signs ของ cardiac death
Irreversible Brain Damaged, Brain death
3.ผู้ป่วยอาการดีขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
อาเจียนและ regurgitation ซึ่งเป็นผลให้ Aspirated Pneumonia
กระดูกหน้าอก ซี่โครงหัก
มีลมในเยื่อหุ้มปอด
อวัยวะภายในฉีกขาด
ปอดช้ำ
กระดูกซี่โ๕รงแยกออกจากกระดูกหน้าอก
บทบาทของพยาบาลเกี่ยวกับการทำ CPR
พยาบาลต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการทำที่ถูกต้องและทันสมัย
พยาบาลจะต้องมีความรอบคอบ ช่างสังเกตและสามารถจัดเตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉินได้ทันและเร็วในขณะที่
Cardiac Arrest เกิดขึ้น
พยาบาลต้องมีความรู้ความสามารถในการประเมินผลและวินิจฉัยว่าผู้ป ่วยมีCardiac Arrest
พยาบาลควรมีสติและไม่ตกใจเมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น
พยาบาลควรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาขนาดของยาและเครื่องมือต่างๆในการทำCPR
พยาบาลควรมีการตรวจเช็คเครื่องมือต่างๆที่เกี่ยวกับการทำให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้อยู่เสมอ
61104824 บุญทิตา ช่วยสงค์ เลขที่ 18 Sec1 G.2