Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ยาออกฤทธิ์ต่อเลือดและอวัยวะสร้างเลือด - Coggle Diagram
บทที่ 7 ยาออกฤทธิ์ต่อเลือดและอวัยวะสร้างเลือด
1.Hemopoietic drug & Hemopoietic growth
factors
3.Antiplatelet and Thrombolytic drugs
Myeloid growth factors
3.Megakaryocyte (Thrombopoietic) Growth Factors
2.Anticoagulant
Heparin
ขัดขวางการแข็งตัวของเลือด โดยจับกับ antithrombin III (AT
III) ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในรูปทรง (conformation) ของ AT III
Warfarin
ออกฤทธิ์ยับยั้งการแข็งตัวของเลือด โดยขัดขวางการท างาน
ของไวตามินเค ซึ่งเป็นสารจ าเป็นในการสร้างfactors II, VII, IX, X ในตับ
3.Antiplatelet
Aspirin
Aspirin ยับยั้ง platelet aggregation โดย ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์
Cyclooxygenase (COX-1)
2 Thienopyridine group
(Ticlopidine และ Clopidogrel)
2.1 Ticlopidine
ยาออกฤทธิ์ยับยั้ง platelet aggregation โดยเป็น ADP antagonist
การศึกษาดูผลของ ticlopidine ในผู้ป่วย
2.2 Clopidogrel
เป็นยากลุ่ม thienopyridine derivative ที่มีคุณสมบัติคล้าย ticlopidine
ยาอีพีโอ (EPO) คืออะไร
คือยาฮอร์โมนอีริโทโพอิติน
(erythropoietin) มีโครงสร้างเป็นไกลโคโปรตีน ผลิตโดยใช้เทคโนโลยีการตัดต่อดีเอ็นเอ (recombinant DNA)
การเก็บรักษายาทำอย่างไร
เก็บยาในตู้เย็น อุณหภูม 2-8 องศาเซลเซียส โดยให้เก็บในช่อง
ธรรมดาของตู้เย็น (ไม่ใช่ช่องแช่แข็ง) ไม่ให้ถูกแสง
ยากระตุ้นเม็ดเลือดขาว
Granulocyte colony-stimulating factors (G-CSFs)
Lenograstim
Nartograstim
Filgrastim
Pegfilgrastim (pegylated filgrastim)
Granulocyte macrophage colony-stimulating factors (GMCSFs)
Molgramostim
Regramostim
Sargramostim
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด/ยาต้านการจับตัวเป็นก้อนของ
เลือด (Anti clotting drugs)
ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet drugs)
ยาสลายลิ่มเลือด(Thrombolytics drugs หรือ Fibrinolytic drugs)
ยากันเลือดแข็งตัว (Anticoagulants)
Heparin
Unfractionated heparin (UFH) ที่ใช้เฉพาะรักษาโรคลิ่มเลือดในหลอด
เลือดดำเฉพาะผู้ป่วยขณะอยู่ในโรงพยาบาลเท่านั้น
Low molecular weight heparin (LMWH) เช่น อีน็อกซะแพริน
(Enoxaparin)
Unfractionated heparin (UFH)
• ผู้ป่วย UA ที่เป็น intermediate หรือ high risk ควรจะได้รับ heparin
ทุกราย
ใช้ในผู้ป่วย UA/ NSTEMI ร่วมกับ aspirin
ขนาด UFH ที่แนะนำให้ใช้ 1 คือ 60-70 ยูนิต/ กิโลกรัม ฉีด bolus เข้าทางหลอดเลือดด าตามด้วยหยดเข้าหลอดเลือดด าในอัตรา 12-15 ยูนิต/
กิโลกรัม/ชั่วโมง
Low-molecular-weight-heparin
( LMWH )
มีฤทธิ์ anti-Xa มากกว่า จึงมีผล antithrombotic ดีกว่า
ไม่ต้อง monitor aPTT
FACTOR XA INHIBITORS
ยากลุ่มนี้จับกับ Factor Xa ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
Direct thrombin inhibitor (DTI)
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Bivalirudin
ยาจะออกฤทธิ์ที่ thrombin โดยตรงแต่ผลการศึกษายังไม่ดีนัก
Warfarin
Warfarin เป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน
(anticoagulant)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้างโปรตีนที่ท าหน้าที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
(clotting factor)
รบกวนเอนไซม์ Vitamin K epoxide reductase complex-1
(VKORC-1) ดังนั้น Warfarin จึงจัดเป็น Vitamin K antagonist
ข้อปฏิบัติตนส้าหรับผู้ป่วยที่ได้รับยา Warfarin
ลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
ระมัดระวังการลื่นล้ม โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอาย
สวมถุงมือหากต้องใช้อุปกรณ์มีคม
สวมหมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่รถจักรยานยนต์
หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาที่มีการกระทบกระแทก
Thrombolytic drugs
ออกฤทธิ์โดยกระตุ้นการเปลี่ยนแปลง plasminogen ให้เป็น plasmin
ข้อควรระวังการใช้ยาสลายลิ่มเลือด
ถ้าคนไข้เคยได้รับยาสเตรปโตไคเนสมาก่อน ห้ามใช้ยาซ้ าอีก
ไม่ควรใช้ยาในผู้ที่เคยรับ SK ภายใน 1-2ป
ควรติดตามอาการของคนไข้หลังจากได้รับยาสลายลิ่มเลือด