Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย, 64424f2ea, 20130323112136,…
บทที่ 8
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
พลวัตรของภาษาและ
วัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลง หมายถึง ภาวะและปรากฏการณ์
ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันตลอดเวลา โดยจะมีความแตกต่างกัน
ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมจะมีความเกี่ยวเนื่อง
สัมพันธ์กัน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยทางธรรมชาติ
ปัจจัยทางสังคม
ปัจจัยทางวัฒนธรรม
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางการเมือง
ปัจจัยภายนอก
การติดต่อระหว่างสังคมที่หลากหลาย
และการกระทบกระทั่งระหว่างสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
แนวคิดเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงเป็นอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงเป็นการต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางประชากร
ปัจจัยทางกายภาพ
ปัจจัยทางชีววิทยา
ปัจจัยทางวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี
ปัจจัยด้านขบวนการสังคม
ปัจจัยทางจิตวิทยา
ปัจจัยอื่น ๆ (Other)
เช่น ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางการศึกษา
ปัญหาที่เกิดขึ้น
จากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องมีใน
การสร้างความเปลี่ยนแปลง
ปัญหาอันเป็นผลต่อเนื่อง
มาจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาความไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลง
ทางภาษา
ลักษณะการ
เปลี่ยนแปลง
ของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกัน
ในช่วงเวลาที่ต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกัน
ในช่วงเวลาเดียวกัน
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยภายใน
ความสมมาตร
ความประหยัด
ปัจจัยภายนอก
ระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีการพิมพ์
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
การปฏิรูปการศึกษา สังคม
การเมือง และเศรษฐกิจ
ภาษาไทยยุคใหม่กับ
โลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มคนที่ใช้ภาษาไทย
สื่อและการกระจายตัวของประชากร
การตอบสนอง
ความต้องการ
ของมนุษย์
การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรม
ตะวันตกหรือวัฒนธรรมสมัยใหม่
การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ซับซ้อน
ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้ามา
ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชนต่าง ๆ
ตัวอย่างภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
เช่น ภาษาวิบัติ หรือ ภาษาอุบัติ
ผลกระทบจากการใช้ภาษาวิบัติ
ความอยู่รอดของภาษาไทย
ในยุคดิจิตอล
ปลุกจิตสำนึกในการหวงแหนภาษาไทย
เปลี่ยนแปลงตัวเอง
ปลูกฝังวัฒนธรรมรักการอ่าน
ภาษาไทยในยุค 4.0
ภาษาไทย 1.0 คือยุคที่การเรียนภารสอนภาษาไทย
มุ่งเน้นที่การอ่าน การเขียน และการแต่งคำประพันธ์
ภาษาไทย 2.0 คือยุคที่มีการอธิบายภาษาไทย
โดยอาศัยโครงสร้างของภาษาอังกฤษตามแบบสยาม
ภาษาไทย 3.0 คือยุคที่สอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ภาษาไทย 4.0 คือ ภาษาไทยที่ทำให้คนไทยสามารถเข้าใจ
โดยเฉพาะจากภาษาอังกฤษได้โดยไม่ผิดเพี้ยน