Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่มีผลต่อระบบเลือด - Coggle Diagram
ยาที่มีผลต่อระบบเลือด
1.Anticoagulant Drugs
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
1.1 Unfractionated heparin (UFH), heparin
sodium (MW 3,000 – 30,000 Da)
เป็นสารกลุ่ม glycosaminoglycan
ออกฤทธิ์ได้อย่างรวดเร็วในละลายลิ่มเลือด (rapid-acting anticoagulant )
ADR : เลือดออก (Bleeding)
ภาวะเกล็ดเลือดน้อย (thrombocytopenia)
Monitoring
Activated partial thromboplastin time (aPTT) (1.5-2.5 เท่าของค่า control)
Activated clotting time
กลไกการออกฤทธิ์ Unfractionated heparin (UFH )
-จับกับ antithrombin ต้านการ ทำงานของ clotting factor (IXa, Xa, XIa, XIIa ), thrombin และ factor Xa
SC
Onset 1-2 hr
Duration : 3 hrs
t1/2: 30- 90 mins
Excretion : renal, urine
1.2 low molecular weight heparins (LMWHs)(MW 4,000 – 5,000 Da)
ทำนายผลในการรักษาได้ดีกว่าและ
ตรวจติดตามทางห้องปฏิบัติการน้อยกว่า UFH
เกิดปัญหา bleeding น้อยกว่า
มีค่า t1/2 นานกว่า UFH
Mechanism :
คล้าย UFH แต่ โมเลกุลที่สั้นกว่าจะจับกับ Factor Xa ได้มากกว่าการยับยั้ง thrombin
หลั่ง tissue factor pathway inhibitor ยับยั้งการทำงานของ Factor Xa และ VIIa
Enoxaparin , dalteparin, tinzaparin
ADR: เลือดออก (Bleeding) ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia)
Monitoring การตรวจวัด factor Xa activity , prothrombin time (PT), aPTT, ACT
1.3 Fondaparinux
Pentasaccharide ออกฤทธิ์ยับยั้ง factor Xa อย่างจ าเพาะเจาะจง
ข้อควรระวัง ยากำจัดออกทางไตในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลง ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ไตทำงานบกพร่องรุนแรง (CrCL < 30 mL/min)
ADR: เลือดออก (Bleeding)
ภาวะเกล็ดเลือดน้อย (thrombocytopenia)
1.4 Idraparinux
t1/2 ~ 80 hrs
ข้อควรระวัง ยากำจัดออกทางไตในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลง ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ไตทำงานบกพร่องรุนแรง(CrCL < 30 mL/min)
-2nd generation ของ Pentasaccharide ชอบจับกับ antithrombin
1.5 Anti-Xa
Rivaroxaban, Apixaban (oral)
กลไกการออกฤทธิ์ -จับกับ factor Xa อย่างจำเพาะเจาะจงและผันกลับได้(reversible)
Monitoring -antifactory Xa activity, PT, aPTT, INR
1.6 direct thrombin inhibitor
กลไกการออกฤทธิ์ -จับกับ thrombin (factor IIa) โดยตรงและแรง (potent) ผันกลับได้(reversible)
1.7 Warfarin (Oral)
ข้อบ่งใช้ -รักษาและป้องกัน VTE
ป้องกันภาวะ thromboembolism (เป็นผลมาจาก AF, myocardial
infraction การเปลี่ยนลิ้นหัวใจ )
กลไกการออกฤทธิ์ - ยับยั้งการเกิดลิ่มเลือด โดยยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้ในการเปลี่ยนรูป ของ Vit.K
Dyslipidemia ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
ไขมันในร่างกาย
High-density lipoprotein (HDL) ไขมันดีเก็บไขมันออกจากกระแสเลือดกลับไปยังตับเพื่อกำจัดทิ้ง
triglyceride ส่วนใหญ่ได้จากแป้ง เก็บไขมันส่วนเกินที่ได้จากอาหาร
low-density lipoprotein ไขมันเลว จับไขมันไปเก็บไว้ตามส่วนต่างๆของร่างกาย
HMG-CoA reductase inhibitor Simvastatin,Atorvastatin,Fluvastatin,lovastatin,rosuvastal
ADR: ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดกล้ามเนื้อ เป็นพิษต่อตับและกล้ามเนื้อ ยาเป็นteratogenic หลีกเลี่ยงในหญิงมีครรภ์
Bile acid sequestrants
Nicotinic acid (niacin) (vit. B3)
Fibric acid derivatives (fibrates)
Ezetimibe
Fish oil
1.2 direct thrombin inhibitor
melagatran
ximelagatran
argatroban
Warfarin
มีผลยับยั้งการทำงานของ
Prothrombin (factor II), VII, IX และ X, protein C และ S (vitamin K –dependent coagulationproteins)
Minitoring : INR (international normalized ratio)
PT complete blood count
เพื่อประเมินผลการรักษา / ลดการเกิด bleeding ซึ่งเป็น ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้จากการใช้ยา warfarin
ADR: ภาวะเลือดออกผิดปกติ(bleeding) จ้ำเลือดออกตามตัว เลือดออกตามไรฟัน ไอหรืออาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด อุจจาระเป็นเลือดหรือสีดำ เมื่อเกิดแผลแล้วเลือดไหลไม่หยุด ประจำเดือนออกมากผิดปกติอื่นๆ เช่น : เนื้อตาย (skin necrosis) ฝ่าเท้าหรือ นิ้วเท้ามีสีน้าเงินม่วง (purple toe syndrome)
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้warfarin หรือสารประกอบในสูตรตำรับ
ผู้ที่มีแนวโน้ม เลือดออกง่าย
ผู้ที่ผ่าตัดแผลเปิดขนาดใหญ
คำแนะนำในการปฏิบัติตัว
2.รับประทานอาหารครบ 5 หมู่และควบคุมปริมาณอาหารชนิดพืชผักใบเขียวที่รับประทานให้สม่ำเสมอ
3.หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารเสริม หรือสมุนไพรชนิดต่าง ๆ
1.ต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอไม่เพิ่ม/ลด/หยุดยาเอง
4.หลีกเลี่ยงกีฬาหรือกิจกรรมที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุเลือดออกง่าย ควรใช้แปรงสีฟันที่อ่อนนุ่ม ควรใช้แผ่นกันลื่นบริเวณห้องน้ำ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
หากต้องทำหัตถการทางทันตกรรม ต้องบอกให้ทันตแพทย์ทราบว่า
กำลังรับประทานยาวาร์ฟารินโดยเฉพาะในกรณีที่จะต้องทำการผ่าตัด เนื่องจากมียาหลายชนิดที่เพิ่มฤทธิ์/ลดฤทธิ์ของยาวาร์ฟาริน
ควรพกบัตรประจำตัวเมื่อได้รับยาวาร์ฟาริน (warfarin card) ติดตัวไว้เพื่อเป็นการดูแลตนเองและแสดงบัตรทุกครั้งที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลและสถานบริการทางสุขภาพ
1
ขาดความระวังในการใช้ยาร่วม (Drug interaction)
ขาดการให้ความรู้ที่พอเพียงแก่ผู้ป่วย
การปรับขนาดยาไม่เหมาะสม (เพิ่มขึ้นหรือลดลงเร็วเกินไป)
2
ปัจจัยทางห้องปฏิบัติการ
เช่น ผลตรวจคาดเคลื่อน
ปัจจัยภายใน เช่นผู้ป่วยอยู่ในภาวะ
ของโรคที่มีผลต่อค่า INR
การที่ผู้ป่วยขาดยา หรือใช้ยาไม่ถูกต้องตามแพทย์สั่ง (nonadherance, non-compliance)
ปัจจัยภายนอก เช่น การได้รับยา
อาหารหรืออาหารเสริมที่มีผลต่อค่า INR
Dabigatran
Coumarin
Antiplatelet drugs
ยาต้านการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือด
2) ADP/P2Y12 receptor antagonist (Clopidogrel / Ticlopidine /Prasugrel )
glycoprotein IIb/IIIa (GP IIb/IIIa inhibitor) ( Tirofiban /Abciximab/Eptifibatide)
Cox-1 ibhibitor Aspirin (oral) ยับยั้งการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือด (antiplateletagent)โดย ยับยั้ง Cox-1 ADR:เลือดออกในทางเดินทางเดินอาหาร
Phosphodiesterase inhibitor (Dipyridamole/ Cilostazol/Triflusal )
Prostacyclin analogue (Beraprost/Iloprost)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ทราบถึงข้อบ่งใช้ อาการไม่พึงประสงค์ ของยาใน
ระบบเลือด
เพื่อให้คำแนะนำในการใช้ยาแก่ผู้ป่วยได้
เพื่อให้ทราบถึงกลุ่มยาต่างๆ ที่ใช้สำหรับระบบเลือด
Fibrinolytic/thrombolytic drug ยาละลายลิ่มเลือด
1) rt PA recombinant tissue plasminogen
activator (Alteplase®) (IV) กลไลการออกฤทธิ์ - selectively binds to fibrin and converts plasminogen ->
plasmin -> degradation of fibrin matrix การให้ยาโรคหลอดเลือดเฉียบพลันจะให้ altephase 3.5 ซม.แรกที่มีอาการ
2) streptokinase (SK) กระตุ้น phasminogen เป็น plasmin สลาย fibrin ที่เกิดขึ้นได้ ระวังได้รับยาซ้ำ
3)ยาละลายลิ่มเลือดที่จำเพาะต่อ fibrin จับกับ fibrin เฉพาะที่ลิ่มเลือด และเปลี่ยน plasminogen ไปเป็น plasmin
ADR :การเกิดเลือดออกผิดปกติน้อยกว่ายา SK