Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CPR infant&child, ภาวะแทรกซ้อน ของการทำ CPR, เมื่อทำ CPR…
CPR infant&child
การวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะ
Cardiopulmonary Arrest
หมดสติ ซึ่งจะเกิดเมื่อหัวใจหยุด
ทำงานไปประมาณ 3-6 นาที
คลำชีพจรไม่ได้โดยเฉพาะที่ซอก
คอ ข้อพับแขน และขาหนีบ
รูม่านตาขยายและไม่มีปฏิกิริยา
ต่อแสง ซึ่งจะเริ่มเกิดเมื่อหัวใจหยุด
ทำงานไป 45 วินาที และจะ ขยาย
เต็มที่เมื่อ 1 นาที
บางรายอาจมีอาการชักได้
ฟังเสียงเต้นของหัวใจไม่ได้ หรือ
ฟังได้แต่ช้ามาก
ซีด เขียว ซึ่งจะเห็นได้ชัดที่หน้า
ริมฝีปาก และเล็บมือเล็บเท้า
ไม่หายใจ หรือมีหายใจกระตุก
เป็นช่วงๆนานๆครั้ง
การให้การช่วยฟื้นชีวิต (CPR)
A = Airway
1.1 Assessment หรือการประเมินความรู้สึกตัว
ของผู้ป่วย คือบุคคลแรกที่พบผู้ป่วยหมดสติ หยุด
หายใจ หรือมี Cardiac Arrest ประเมินด้วยการ
กระตุ้นด้วยการดีดฝ่าเท้าหรือลูบหลังหรือ หน้าอก
ในทารกและเรียกชื่อของผู้ป่วย
1.2 Call for help หรือ การเรียกขอความช่วยเหลือ คือเมื่อ
แน่ใจว่าผู้ป่วยมีอาการของ Cardiac Arrest ก็ให้ร้องขอ
ความช่วยเหลือ โดยเรียกผู้ร่วมงานมาช่วย ให้ตามแพทย์
ทันที พร้อมทั้งเตรียมรถ Emergency ไม้กระดานสามสาห
รับรองหลัง ชุดให้ออกซิเจน และชุดดูดเสมหะ
1.3 Position the victim หรือ การจัด
ท่าผู้ป่วยระหว่างรอแพทย์ พยาบาล
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้ นอนหงายราบไม่
หนุนหมอน หรือสอดไม้กระดานรอง
หลังผู้ป่วย
1.4 Open the airway หรือ เปิดทางเดินหายใจ คือทำการเปิด
ทางเดินหายใจ โดยถ้าไม่มีการอุด กั้นของทางเดินหายใจให้ใช้
นิ้วล้วงเอาสิ่งแปลกปลอม หรือเศษอาหารออก (Finger Sweep)
B = Breathing
Determine Breathlessness and Breath for the Victim คือ เมื่อตรวจเช็คแล้วผู้ป่วยหยุด หายใจ
หรือ หายใจลำบากมาก ต้องให้การช่วยเหลือโดยใช้หน้ากากช่วยหายใจ (Ambu Face Mask) ต่อ
เข้ากับถุงช่วยหายใจ (Resuscitating Bag) และออกซิเจนเปิด 12-15 ลิตรต่อนาที ครอบจมูกและ
ปากผู้ป่วยโดยจับคางยกขึ้นและกดหน้าผากลง ครอบหน้ากากช่วยหายใจให้แน่น โดยขนาดของ
หน้ากาก ช่วยหายใจต้องมีขนาดที่พอเหมาะกับปากและจมูกของผู้ป่วย หลังจากนั้นบีบลมเข้าออกแต่
ต้องสังเกต ว่าลมเข้าปอดดีหรือไม่ โดยจะเห็นหน้าอกขยายขึ้นและแฟบลงตามแรงบีบ ในเด็กเล็กบีบ
ลมเข้า ประมาณ 20 ครั้งต่อนาที ในเด็กโตประมาณ 15 ครั้งต่อนาที หรือเป่าปาก 2 ครั้ง ในช่วงแรก
โดย พยายามให้หน้าอกขยาย ถ้าไม่มีการเคลื่อนไหวของหน้าอก ให้ทาต่อในอัตรา 20 ครั้งต่อนาที
C = Circulation
3.1 Assessment : Determine Pulselessness หรือ การประเมิน
การทำงานของหัวใจ โดยการ คลำชีพจรที่ซอกคอ (Carotid Pulse)
ที่ข้อพับแขน (Brachial Pulse) หรือทารกจะคลำที่ขาหนีบ (Femoral
Pulse) ในเวลา 5-10 วินาที ว่ามีหรือไม่ ถ้าไม่มีแสดงว่า หัวใจหยุด
เต้น
3.2 Perform Chest Compression คือขั้นตอนการนวดหัวใจ
แพทย์หรือพยาบาลเตรียมทำการนวดหัวใจจาก ภายนอก
(External Chest Compressions)
การทำ External Chest
Compressions
เด็กโต
เด็กเล็ก
CPR จะมีประสิทธิภาพดีได้ผลข้ึนอยู่กับ
ทีมCPR
กุมารแพทย์ 1-2 คน
วิสัญญแพทย์
พยาบาล
อุปกรณ์ เครื่องมือ
รถ Emergency
ชุดให้ออกซิเจน(Flow meter พร้อมสายยาง)
ชุดดูดเสมหะท่ีสะอาดปราศจากเชื้อ
Portable E.C.G
Defibrillator
บุคลากรควรมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับขั้นตอนในการทำCPR
ภายหลังการทำ CPR ทุกคร้ังควร
ประเมินโดยเฉพาะในจุดที่ยัง
บกพร่องและหาทางแก้ไข
ติดตามและศึกษาหาความรู้เก่ียว
กับ CPR ที่ทันสมัยและนำมา
ดัดแปลงใช้ในหอผู้ป่วย
ควรมี CPR Card หรือ CPR Drug Flow Sheet สาหรับผู้ป่วยแต่
ละรายท่ีเสี่ยงการเกิดภาวะ หัวใจหยุดทำงานโดยให้แพทย์กรอก
ข้อมูลในการให้ยา ช่วยฟื้นชีวิตไวอ้ ย่างครบถว้ นและสามารถ นำ
มาใช้ได้ทันทีที่ต้องการในผู้ป่วยแต่ละรายซึ่งจะทาให้การใช้ยาเป็น
ไปอย่างรวดเร็วและถูกต้อง
ควรมี CPR Record Flow Sheet
สำหรับจดบันทึกข้อมูลระหว่างการ
ทำ CPR เพื่อนำข้อมูลมา วิเคราะห์
ได้ในโอกาสต่อไป
4.Advanced Cardiac Life Support
(ACLS)
4.1 DrugandI.V.line
4.3 Electrocardiogram
(E.C.G)
4.2 Defebrillator
ภาวะของหัวหยุดทำงาน
แบ่งเป็น 3ประเภท
เวนตริเคิลหยุดเต้น (Ventricular
Asystole) คลื่นไฟฟ้าจะเป็นเส้น
ตรง
เวนตริเคิลเต้นแบบฟิลบริลเลชั่น
(Ventricular Fibrillation) คลื่น
ไฟฟ้าหัวใจจะเป็นลักษณะ คล้าย
ฟันเลื่อย
เวนตริเคิลเต้นแต่ไม่มีการไหลเวียนของ
เลือด (Electromechanical Dissociation)
สาเหตุของการที่หัวใจหยุด
ทำงาน
4) การประเมินและการช่วยฟื้นชีวิต
ในผู้ป่วยเด็ก
5) อาการและอาการแสดงออกของ
Impending Pediatric
Cardiopulmonary Arrest
ภาวะแทรกซ้อน
ของการทำ CPR
อาเจียนและ Regurgitation ซึ่ง
อาจเป็นผลทำให้เกิด Aspirated
Pneumonia
กระดูกหน้าอกหัก
กระดูกซี่โครงหัก
มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
อวัยวะภายในฉีกขาด
มีเลือดออกภายใน
ปอดช้ำ
กระดูกซี่โครงแยกออกจากกระดูกหน้าอก
เมื่อทำ CPR แล้วควรประเมินผลการทำ
ว่าได้ผลดีหรือไม่ โดยการตรวจ
คลำชีพจรและวัดความดันได้
ผู้ป่วยตอบสนองต่อการกระตุ้น
อาการเขียวลดลง
รูม่านตาเล็กลงและมีปฏิกิริยาต่อแสง
ผู้ป่วยตื่นและกลับรู้สึกตัวดีเหมือนเดิม
ผู้ป่วยเร่ิมหายใจเองได้
สรุปบทบาทของพยาบาลเกี่ยวกับการทา CPR
พยาบาลต้องมีความรู้และความ
เข้าใจเก่ียวกับขั้นตอนการทำท่ีถูก
ต้องและทันสมัย
พยาบาลจะต้องมีความรอบคอบ
ช่างสังเกตและสามารถจัดเตรียม
อุปกรณ์ฉุกเฉินได้ทันและเร็วใน
ขณะที่ Cardiac Arrest เกิดข้ึน
พยาบาลต้องมีความรู้ความ
สามารถในการประเมินผลและ
วินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีCardiac Arrest
พยาบาลควรมีสติและไม่ตกใจ
เมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดข้ึน
พยาบาลควรมีความรู้เกี่ยวกับ
การใช้ยาขนาดของยาและเครื่อง
มือต่างๆในการทำCPR
พยาบาลควรมีการตรวจเช็ค
เครื่องมือต่างๆท่ีเกี่ยวกับการทำให้
อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้อยู่
เสมอ
มีภาวะการหายใจลำบาก
(Respiratory Distress)
หายใจเร็ว (Rapid Respiration)
หายใจตื้น (Shallow Respiration)
ผนังทรวงอกบุ๋ม (Chest Wall Retraction)
มีเสียงหายใจออกลำบาก (Expiratory Grunting) - ปลายจมูกบาน (Nasal Flaring)
หายใจสะอึกกระตุกลึกและอ้าปากหายใจเป็นช่วงๆ (Air Hunger)
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบ
หัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
ตัวลาย (Mottling)
เขียว ซีดโดยเฉพาะที่ผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ
ชีพจรส่วนปลาย (Peripheral
Pulse) เบา
Capillary Refill ไม่ดี
การช่วยเหลือทารกที่สำคัญมีดังนี้
ABC
การช่วยเหลือพื้นฐานหรือขั้นต้น
(Basic step)
Warmth
Clearing the airway
Suctioning
Clearing the airway of
meconium
Tactile stimulation
Oxygen administration
Ventilation
Face mask
Positive pressure ventilation
ข้อบ่งชี้PPV
ทารกท่ีไม่หายใจ
ทารกท่ีไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นการหายใจ
ในรายท่ีทารกมี apnea หรือ gasping respirations
ทารกหายใจแต่มีอัตราการเต้นของหัวใจน้อย
กว่า100คร้ังต่อนาที
ทารกท่ีมีภาวะcyanosis แม้ว่าได้ให้100%ออกซิเจน
ผ่านทาง face mask and flow-inflating bag หรือ
oxygen mask หรือ วิธี hand cupped around oxygen
tubing
ข้อบ่งชี้ ET tube
ทารกท่ีมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัมและไม่มีการ
หายใจ อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง ต่อนาที
โดยในการใส่ ET tube ควรเลือกขนาดให้เหมาะสมกับตัว
ทารก
คำนวณ
น้ำหนัก (กิโลกรัม) + 6 เซนติเมตร = ระดับความลึก ณ
ตำแหน่งท่ีขอบปากของทารก
ทารกที่มีน้ำคร่ำและขี้เทาใน
trachea และต้องดูดออก
ทารกได้ทำPPVด้วย bagและmaskแล้วแต่
อาการไม่ดีข้ึน
ทารกท่ีต้องช่วยเหลือโดยการทำChest compression
ทารกที่สงสัยว่ามีDiaphragmatichernia
Chest compression
3.1 Two-finger technique
การเอานิ้วกลางและนิ้วชี้วางลงบนกระดูกหน้าอก (sternum) ใน
ระดับต่ำ กว่าราวนมและเหนือล้ินปี่ในแนวตรง โดยให้ระดับของ
นิ้วท้ังสองอยู่ในแนวเดียวกัน กดลงลึกประมาณ 1/3 ของ
anterior-posterior (AP) diameter ของทรวงอกทารก
3.2 Thumb technique
การเอามือ 2 ข้างโอบรอบทรวงอกของทารก โดยให้ฝ่ามือ
แนบกับแผ่นหลังของ ทารก แล้ววางนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้าง
บนกระดูกหน้าอก (sternum) ชิดกันหรือนิ้วหัวแม่มือทั้งสอง
อาจวาง ซ้อนกันถ้าหากทรวงอกของทารกเล็กมาก
การให้ยา epinephrine และ
หรือสารน้ำ (volume expansion)
Targeted Preductal SpO2 after Birth
DRUGS USED IN PEDIATRIC ACLS
ออกซิเจน ให้ใช้ 100% ออกซิเจนในระหว่างการ
ทำ CPR เพื่อแก้ไขภาวะ Hypoxemia
3.ยาต่างๆ ท่ีใช้ควบคุมการทำงาน
ของหัวใจและความดันโลหิต
3.1 Adrenaline (Epinephrine)
3.2 Atropine
3.3 Lidocaine
3.4 Cordarone
3.5 Isuprel
3.6 Dopamine
3.7 Dobutamine
3.8 10% Calcium gluconate
3.9 Sodium Bicarbonate
ข้อควรระวัง
ในเด็กเล็กต้องเจือจางยาน้ีด้วย Sterile Water 1 : 1 ก่อน
ให้เสมอเพราะอาจทาให้เกิด Intracranial hemorrhage
ได้
การให้ยาน้ีมากเกินไปจะทาให้เกิด Metabolic Alkalosis
ทำให้เกิด Oxyhemoglobin Dissociation Curve ขยับไป
ทางซ้ายทำให้การปล่อยออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อลดลง
จากปฏิกิริยาหลังให้ยาน้ีจะมี CO2 เกิดข้ึน ดังนั้น
Ventilation ของผู้ป่วยต้องเพียงพอที่จะขับเอา CO2 นี้ออก
มาจากร่างกาย
ห้ามผสมยานี้กับ Cathecholamine เพราะจะทำให้เกิด
Cathecholamine เสื่อมสภาพ
ห้ามผสม Calcium กับยาน้ี เพราะจะทำให้ Calcium ตก
ตะกอน
3.10 50%Glucose
Intravenous Fluids เช่น
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบ
ประสาท
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (Decrease Level of Consciousness)
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้ออ่อนแรง
แบบ Flaccid Tone
อุปกรณ์สำหรับใช้ในการช่วยฟื้นชีวิต
ทารกและทารกแรกเกิด
อุปกรณ์สำหรับการดูดเสมหะ
อุปกรณ์สำหรับการให้ออกซิเจน
อุปกรณ์สำหรับการใส่ท่อช่วย
หายใจ
อุปกรณ์สำหรับสาย
Umbilical catheter
ยาต่างๆ
อุปกรณ์อื่นๆ
ต้องทำอย่างรีบด่วนภายใน 5-10 วินาที)
โรคหัวใจ
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
(Cardiac Temponade)
การทำงานของหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง (Severe Heart
Failure)
มีภาวะการหายใจล้มเหลวอย่าง
เฉียบพลัน (Acute Respiratory Failure)
และเกิดภาวะ Respiratory Arrest
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่าปกติ
มาก (Hypothermia) โดยเฉพาะ
ในทารกแรกเกิด
มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำมาก
(Hypoglycemia) โดยเฉพาะใน
ทารกแรกเกิด
ปฏิกิริยาจากการกระตุ้นประสาทเวกัส (Vago
Vagal Reflex) เช่น จากการใส่ท่อผ่านหลอดลม
(Endotracheal Tube)และการดูดเสมหะทางท่อ
ผ่านหลอดลมที่ใส่สายลึกเกินไป
ความดันโลหิตต่าอย่างรุนแรง
(Severe Hypotension) หรือมี
ภาวะช็อค (Shock)
ภาวะไม่สมดุลของกรดและด่าง
ในร่างกายอย่างรุนแรง (Severe
Acid-Base lmbalance) เช่นใน
รายที่ค่า pH ในเลือดน้อยกว่า 7
ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ใน
ร่างกาย (Severe Electrolyte
lmbalance)โดยเฉพาะ
Potassium (K+ )
การได้รับยาเกินขนาด (Drug
Overdose) เช่น Digitalis,
Potassiun
การได้รับเลือด (Blood
Transfusion) ที่เย็นมากและเร็ว
เกินไป
มี Air Embolism ขนาดใหญ่
อุบัติเหตุบางอย่าง เช่น ไฟฟ้า
ช็อค (Electric Shock), จมน้ำ
(Near Drowning)
หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmias) เช่น Ventricular
Tachycardia (VT),Ventricular
Fibrillation (VF)
ทำ CPR จะมีการหยุดเพื่อให้แพทย์ใส่ท่อผ่านหลอดลม
(Endotracheal Tube) ให้ ผู้ป่วยพยาบาลจะต้องเตรียม
อุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมและมีขนาดท่ีพอเหมาะกับผู้ป่วยโดย
เฉพาะขนาดและชนิด ของ Blade, Endotracheal Tube
เลือด (Blood)
พลาสมา (Plasma)
Colloid Solution เช่น Albumin
Crystalloid Solution เช่น Ringer's Lactate