Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในภาวะวิกฤต -…
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในภาวะวิกฤต
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปํญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
โครงสร้างของหัวใจ
ชั้นนอกสุด
เรียก เพอริคาร์เดียม (Pericadium) ประกอบด้วย(fibrous)และซีรัส (serous tissue)
ชั้นกลาง
เรียกไมโอคาร์เดียม(Myocardium)เป็นชั้นกล้ามเนื้อ
ชั้นในสุด เรียก เอนโดคาร์เดียม (Endocardium) เป็นเยื่อบางคล้ายชั้นนอก
การประเมินผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
การสัมภาษณ์
ข้อมูลทั่วไป
-อายุ เพศ อาชีพและหน้าที่การทำงาน
-ภูมิลำเนา เชื้อชาติ ศาสนา
-การศึกษา สถานภาพสมรส ฐานะความเป็นอยู่
-ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน
การทำหน้าที่ของร่างกายในระบบต่างๆ
ระบบหายใจ
หายใจหอบเหนื่อยเมื่อออกแรง(exertional dypnea) อาการบ่งบอกว่าหัวใจซีกขวาวายจากเลือดคั่ง
Paraoxysmal noctural dyspnea อาการเหนื่อยหอบในเวลากลางคืน ตื่นขึ้นมาหอบหลังจากนอนไป 1-2 ชั่วโมง
หอบเหนื่อยในท่านอนราบ (orthopnea) อาการจะทุเลาลงเมื่อลุกนั่ง
ไออาการไอขณะนอนราบอาจมีอาการหอบเหนื่อยร่วมด้วยเป็นอาการเริ่มต้นของหัวใจซีกซ้ายวาย
ไอเป็นเลือด (hemoptysis) เกิดจากปอดมีการคั่งของเลือดเลือดที่ออกมามีลักษณะเป็นเส้นเล็กๆ
การไหลเวียนโลหิต
เจ็บหน้าอก (chest pain)
บวม (edema)
เขียว (cyanosis)
มึนงงและเป็ นลม (syncope)
อ่อนเพลีย (fatique) และอ่อนแรง (weakness)
ระบบขับถ่าย
ปริมาณ ความถีสี การขับปัสสาวะมากในเวลากลางคืน(nocturia)
-ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral Stenosis)
สาเหตุ
ไข้รูมาติด
เนื้องอกที่เอเตรี้ยม
พยาธิสภาพ
-มีการเชื่อมติดกันของกลีบลิ้น
-มีผังฝืดและแผลเป็นที่เกิดขึ้นที่หัวใจ
รูเปิดตีบแคบลง
เลือดไหลสู่ Lt.Ventricleลดลง
เลือดเหลือค้างใน เอเตรี่ยมซ้าย
ผนังเอเตรี่ยมซ้ายหนาตัวขึ้น
Presscure สูงขึ้น บีบตัวมากขึ้น จนไม่บีบ
Blood ไหลผ่านลิ้นลดลง
1 more item...
ลิ้นไมตรั้ลรั่ว (Mitral regurgitation)
พยาธิสภาพ
เมื่อเวนตริเคิลซ้ายบีบตัว
Blood บางส่วนไหลกลับเอเตรียมซ้าย
การสูบฉีดเลือดลดลง
Pressure ในเอเตรียมซ้ายสูงขึ้น
เวนตริเคิ้ลและเอเตรี่ยมโตขึ้น
1 more item...
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อบ
เจ็บหน้าอก
ใจสั่น พบได้บ่อย
ลิ้นเอออร์ติกตีบ(Aortic Stenosis)
สาเหตุ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
เกิดจากลิ้นอักเสบหรือไข้รูมาติด
เกิดจากมีหินปูนมาเกาะที่ลิ้นมากกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอกขณะออกกำลังกาย
เป็นลมหมดสติเนื่องจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ
เหนื่อยหอบ
เมื่อฟังเสียงหัวใจจะได้ยินเสียงฟู่ซีสโตหลิก
ลิ้นเอออร์ติกรั่ว(Aortic Regurgitation)
สาเหตุ
เอออติกโป่งพอง
มาจากไข้รูมาติด
พยาธิสภาพ
ลินเอออร์ติครั่ว
เลือดไหลย้อนกลับเข้าสู่เวนตริเคิลซ้าย
เวนตริเคิลซ้ายขยายตัวหนาขึ้น
ปริมาตรบีบตัวเพิ่มขึ้น
systolicสูงขึ้น /diastolicต่ำลง
1 more item...
โรคหัวใจขาดเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจตาย(Ischemic heart disease:IHD)
ความพิการของหัวใจชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรังเกิดเนื่องจากการที่เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลงหรือชะงักไปเพราะโรคเกิดขึ้นในเส้นเลือดแดงโคโรนารี(Coronary)
สาเหตุ
มีหินปูนมาจับทำให้รูของเส้นเลือดตีบจนอาจอุดตัน(aterosclerosis)
พยาธิสภาพ
ระยะที่ 1 เซลล์เริ่มขาดเลือด (ischemia) ไม่มีการตายของเซลล์
ระยะที่ 2 เซลล์บาดเจ็บ (injury) เซลล์เริ่มมีการขาดเลือดไปเลี้ยง
ระยะที่ 3 เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตาย เนื่องจากขาดเลือดมาเลี้ยง ประสิทธิภาพในการหดรัดตัวลดลง
รูปแบบของการเจ็บหน้าอกแบ่งได้ 3 ระดับ
stable angina
unstable angina
Variant angina
การรักษา
ซึ่งยาที่ใช้ในผู้ป่วย Angina Pectoris มีอยู่ด้วยกัน 3 กลุ่ม
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilator)
ยาปิดกั้นเบต้า (Beta-blocking agent)
ยาต้านแคลเซี่ยม (Calcium channel blockers)
การผ่าตัด
Coronary Atery Bypass Graft : CABG
Precutaneous Transluminar Coronary Agioplasty : PTCA การผ่าขยายหลอดเลือดโคโรนารี่ที่ตีบออก
Balloon Coronary Angioplasty
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย(Myocardial infraction) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Trasmural infraction คือ ภาวะที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตายตลอด หรือเกือบตลอดความหนาของผนังกล้ามเนื้อหัวใจ
Subendocordial infraction คือ ภาวะที่มีกล้ามเนื้อหัวใจเป็นหย่อมๆ ความหนาของกล้ามเนื้อที่ตายไม่เกินครึ่งของผนังกล้ามเนื้อหัวใจ
อาการและอาการแสดง
มีอาการเจ็บหน้าอกอย่างรุนแรงใต้กระดูกลิ้นปี่ร้าวไปที่หัวไหล่
การรักษา
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด(Anticoagulant drug)ได้แก่ Heparin
การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจภาวะวิกฤตในห้องฉุกเฉิน
Acute Coronary Syndrome
( ACS )
กลุ่มอาการ เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันAcute ST-ELEVATE MI.
เป็นสาเหตุการตายที่ส าคัญของโรคหัวใจขาด
เลือด อัตราการตายอยู่ประมาณ 20-40 %
หลักการส าคัญในการรักษาคือ การเปิดหลอดเลือดหัวใจที่อุดตันให้เร็วที่สุด
Pathophysiology of ACS
กระตุ้นเกร็ดเลือดให้มาเกาะกลุ่มกระตุ้นระบบการแข็งตัวของเลือดผ่านทาง extrinsic และintrinsic pathway
เกิดเป็นลิ่มเลือด (thrombus) ตรงต าแหน่ง lesion นั้น
มี fibrous cap บาง และมี central lipid core
สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
ความดัน
อายุ
สูบบุหรี่
เบาหวาน
เพศชาย
ประวัติครอบครัว
ไขมันในเลือดสูง
Cardiac makers
Myoglobin
ตรวจพบภายใน 2ชม. อยู่สูงอย่างน้อย 7-12 ชม.
ไม่มีความจ าเพาะในการวินิจฉัย (ส่วนประกอบกล้ามเนื้อลาย)
อาการและอาการแสดง
อาการเจ็บหน้าอก
เริ่มเกิดขึ้นมักจะเป็นช่วงระยะเวลาตั้งแต่6 โมงช้าถึงเที่ยงวัน
การพยาบาลฉุกเฉิน
Screening เป็นสิ่งส าคัญเพื่อคัดกรองค้นหาผู้ป่วย
EKG 12 Leads ภายในไม่เกิน 10 นาที
Consult cardiologist Single call
Biochemical marker
Cardiac troponin ( Troponin T :TnT หรือ Troponin I: TnI
อยู่ในกระแสเลือดประมาณ 2 สัปดาห์
TnT > 0.1 ไมโครกรัม / เดซิลิตร
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต
ของหัวใจ
สาเหตุใหญ่ๆ มี 2 ประการ
การหดตัวองกล้ามเนื้อหัวใจลดลงมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดมีของเหลวในเยื่อหุ้มหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานหนัก จาก การเพิ่มแรงต้านทานของเส้นเลือด
การปรับชดเชย
Baroreceptor reflex รับรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับความดันเลือดอยู่ที่ Carotid sinus และ aortic arch
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลวหัวใจ
หัวใจด้านซ้ายล้มเหลว
-เหนื่อยง่ายเมื่อมีกิจกรรม
-อาการหายใจหอบในท่านอนราบ
-อาการหอบในช่วงกลางคืน
หัวใจด้านขวาล้มเหลว
-ตับม้ามโต
-มีการคั่งของน้ำในช่องท้อง
-มีการยืดขยายของหลอดเลือดดำที่คอ
การรักษาและการพยาบาล
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ให้ยาดิจิทาลิส
-ดิจิทาลิส เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ ทำให้เพิ่ม stroke volumeและเพิ่ม CO ช่วยลดความดันหลอดเลือดแดงในปอด ลดความดันหลอดเลือดดำส่วนกลาง สามารถลดภาวะน้ำท่วมปอด ไอ และหายใจเหนื่อยได้ลงได้ นิยมใช้ คือ digoxin , digitoxin
dopamine และ dobutamine
dopamine เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ช่วยขยายเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงไต
-dobutamine กระตุ้นเบต้าเซลล์ที่หัวใจ เพิ่มอัตราการ
เต้นและการบีบตัว ต้องระวังการให้ในผู้ป่วยหัวใจขาด
ภาวะการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ภาวะการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac temponade)
ปกติในช่องเยื่อหุ้มหัวใจมีสารเหลว 5-20 มิลลิเมตรสามารถเพิ่มได้ถึง 100-200 มิลลิเมตร
สาเหตุ
-การได้รับบาดเจ็บต่อเยื่อหุ้มหัวใจ
-การแพร่กระจายของมะเร็งมายังเยื่อหุ้มหัวใจ
-การฉายรังสี
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอก น้ำหนักลด เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน
พบเสียงหัวใจเบา ความดันในหลอดเลือดดำกลางสูง
Pulsus paradoxus คือ มีความดันซีสโตลิคในระยะหายใจออก
การคลำยอดหัวใจได้เบาหรือไม่ได้
ฟังเสียงพบเสียงเสียดสีของผนังเยื่อหุ้มหัวใจ
การรักษา
การเจาะเอาน้ำออก
การผ่าตัดทรวงอก
การผ่าตัดช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
การพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว ปริมาณปัสสาวะและความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง
จัดท่านอนที่สุขสบาย ส่งสริมการหายใจโดยการนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับสารเหลวทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ได้รับยา Isoproterenal เพื่อเพิ่มอัตราการเต้นและบีบตัวของหัวใจ
การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Chest leads
กำหนดความเร็วของกระดาษอยู่ที่ 25 มิลลิเมตร/วินาที
คลื่น p เกิดจาก ดีโพลาไรเซชั้นของเอเตรียม กว้างไม่เกิน 2.5 มิลลิเมตร หรือใช้เวลา0.08-0.10 วินาที
คลื่น p-r บอกถึงเวลาในการนำไฟฟ้าไปยังเวลตริเคิลปกติใช้เวบาไม่เกิน 0.12-0.20 วินาที
คลื่น Q เป็นคลื่นลบคลื่นแรกที่ตามหลังคลื่น P ปกติไม่เกิน 1 มิลลิเมตร หรือ 0.04 วินาที
R เป็นคลื่นแรกที่ตามหลังคลื่น Q ในกรณี ที่ไม่มีคลื่น Q จะพบว่าคลื่น R เป็นคลื่นบวก
คลื่น S เป็นคลื่นลบคลื่นแรกที่ตามหลังคลื่น R
คลื่น QRS บอกถึงดีโพลราไรเซชั่น ของเวนตริเคิลใช้เวลา 0.06-0.12 วินาที
คลื่น T เกิดจากการรีโพลาไรเซชั่นของเวลตริเคิลเป็นคลื่นที่ตามหลัง S
คลื่น U เป็นคลื่นไฟฟ้าบวกอยู่หลังคื่น T ปกติพบได้น้อย
การนําสัญญาณไฟฟ้า(conduction)
ช่วง P-R (P-R interval)
คลื่นQRS (QRS complex)
การประเมินผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ระบบหาบใจ
ระบบขับถ่าย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบประสาท
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจ
การตรวจเลือด เพื่อดูภาวะซีด
การตรวจดูค่าสมดุลน้ำและอิเล็กโทรไลท์
CPR GUIDELINE 2015
ห่วงโซ่การช่วยชีวิต
(CHAIN OF SURVIVAL)
สงเกตอาการที่อาจนําไปสภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiacarrest)
เริ่มปฏิบัติการกู้ชีพเบื้องต้นทันที(Early CPR – to buy time)
รีบทำการกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า (Early defibrillation– to restart the heart)
การดูแลหลังมีสัญญาณชีพ (Post Resuscitation care – to restore quality of life)
การกดหน้าอก(CHEST COMPRESSION)
นั่งคุกเข่าข้างผู้ป่วย
วางสันมือข้างหนึ่งตรงกลางหน้าอกผู้ป่วย
วางสันมือทับสันมือแรกที่บริเวณหน้าอก
แขน 2 ข้างเหยียดตึง
ไม่กดน้ำหนักลงปลายล่างของกระดูกหน้าอก
วางแขนให้เหยียดตรงในแนวดิ่งกดหน้าอกผู้ป่วยให้ลึกลง 5 ซม
ทุกครั้งที่กดหน้าอกแล้วปล่อยแรงกด อย่าให้มือที่วางลอยออกจากกระดูกหน้าอก
การเปิดทางเดินหายใจและช่วยหายใจ (AIRWAY AND BREATHING)
กดหน้าผากและเชยคาง (Head tilt and Chin lift)
ช่วยหายใจโดยเป่าลมจนหน้าอกผู้ป่วยยกขึ้น
กดหน้าผากเชยคางขณะเอาปากออกจากผู้ป่วยและรอหน้าอกยุบ 1 นาที
AUTOMATED EXTERNAL DEFIBRILLATOR(AED)
เปิดสวิชต์เครื่องทันที
ติดแผ่นกระตุกหัวใจที่หน้าอกผู้ป่วย
ถ้ามีคนมากกว่า1คนให้ช่วยติดและไม่หยุดกดหน้าอก
แน่ใจว่าไม่มีใครสัมผัสในขณะที่เครื่องทำการวิเคราะห์หัวใจ