Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชายอายุ 10 ปี ถูกนำส่งรพ. บิดาให้ประวัติเล่นน้ำตกกับเพื่อน…
เด็กชายอายุ 10 ปี ถูกนำส่งรพ. บิดาให้ประวัติเล่นน้ำตกกับเพื่อน กระโดดจากโขดหิน
ศีรษะกระแทกกับหินใต้น้ำ
Head injury
Inflammatory response
inflammatory mediators
chemokines
กระตุ้น hypothalamus
CRH
Pituitary gland
ACTH
1 more item...
skull fracture
Hemorrhage
Brain edema
IICP
Brain herniation
กด brain stem
กดการหายใจ
กดเส้นประสาท
CN3,4,6
1 more item...
CPP :arrow_down:
Brain ischemia
BP :arrow_up:
Cerebral vessel dilate
1 more item...
anaerobic metabolism
1 more item...
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงเกิดภาวะความดันในกะโหลดศีรษะสูง เนื่องจากได้รับการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ
ข้อมูลสนับสนุน
5 more items...
เป้าหมายการพยาบาล
1 more item...
เกณฑ์การประเมินผล
5 more items...
การพยาบาล
5 more items...
กดการทำงานของ pituitary gland
antidiuretic hormone :arrow_up:
C spine injury
On philadelphia
จมน้ำนาน 2 นาที
Immersion /Submersion
น้ำอุณหภูมิต่ำ
Hypothermia
Vasoconstriction
Involuntary gasp
water swallowing
Aspiration
Coughing reflex & laryngospasm
continuous aspiration
น้ำเข้าปอด :arrow_up:
alveoli ruptured
1 more item...
Surfactant washout
1 more item...
gas exchange :arrow_down:
4 more items...
Pulmonary interstitial pressure :arrow_down:
Pulmonary edema
ปอดแลกเปลี่ยนแก๊สไม่ได้
1 more item...
CXR : infiltration both lung
Lung compliance
1 more item...
เสี่ยงต่อภาวะ Pneumonia เนื่องจากการลำลักน้ำ
ข้อมูลสนับสนุน
จมน้ำนาน 2 นาที
ผล CXR พบ infiltration both lung
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะติดเชื้อหรือปอดอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ ได้แก่ มีไข้ ตัวร้อน
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบเชื้อ
ผล CBC อยู่ในเกณฑ์ปกติ
WBC 5,000 – 10,000 cell/mm3
Neutrophil 55 - 70%
Monocyte 2 - 8%
Eosinophil 1-4%
Basophil 0.1%
การพยาบาล
1.ประเมินภาวะการติดเชื้อ เช่น มีไข้สูง หายใจเหนื่อย ไอเเห้งๆ หรือมีเสมหะ
2.ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อป้องกันภาวะปอดอักเสบภายหลังจากการจมน้ำ
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอตามความต้องการของร่างกาย
4.เฝ้าระวังภาวะปอดติดเชื้อ โดยสังเกตอาการแสดงของการติดเชื้อ วัด vital sign ทุก 4ชั่วโมง เพื่อประเมินการติดเชื้อ หากพบภาวะผิดปกติรายเเพทย์เพื่อเตรียมให้ยาปฏิชีวนะ
ให้การพยาบาลโดยใช้หลัก Aseptic technique เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ทำความสะอาดก่อนและหลังให้การพยาบาล
secondary survey
1.ซักประวัติ
สิ่งแวดล้อม
ความลืก ความแรงของกระแสน้ำ
ความสูงจากโขดหินที่กระโดด
สภาพใต้น้ำ
การช่วยเหลือเบื้องต้นที่เด็กได้รับ
อุบัติเหตุ
เล่นน้ำตกกับเพื่อน กระโดดจากโขดหิน ศีรษะกระแทกหินใต้น้ำ
โรคประจำตัว
AMPLE
Allergies
Medication
Past illnes
Event
Last meal
2.BP วัดไม่ได้ คลำPulse ไม่ได้ หายใจเฮือก BT 36 C O2 Sat 82 (Room air)
3.ประเมินความรู้สึกตัว
แรกรับ ER เด็กไม่รู้สึกตัว ส่งเสียงอืออา หายใจเฮือก มีเสียงครืดคราด มีน้ำในปากจมูก ตัวเย็น แขนขาซ้านและแขนขาขวาเกร็งเข้าหาลำตัว ได้ E1V2M3 GCS 6 คะแนน
หลัง Resuscitation N/S E2VtM4
N/S : GCS ,pupils, cranial nerve 12 คู่และ Peripheral nerve ทั้ง Motor&Sensory
4.ประเมิน สภาพทางร่างกาย
บาดแผล การตรวจร่างกาย Head to toe การตรวจร่างกายอย่างละเอียกเพื่อหาการบาดเจ็บอื่นๆนอกเนื่องจากที่พบเห็นใน Primary Survey
5.Pain assesmenation
ประเมินความปวดจากสีหน้า Face scale และ Behavior Pain Scale (BPS) สําหรับผู้ป่วย on Ventilator
6.ตรวจพิเศษ chest xray
CXR พบ infiltration both lung , CBC , BUN , Cr , Bllod group matching(G/M PRC 2 Unit,การตรวจ FAST เพิ่มเติม , CT Scan , Ultra sound , angiograghy
ข้อวินิจฉัย
บิดามารดามีความวิตกกังวลเนื่องจากภาวะความเจ็บป่วยรุนแรงของบุตร
ข้อมูลสนับสนุน
บิดามารดามีสีหน้าเคร่งเครียดตกกังวล
แรกรับ at ER เด็กไม่รู้สึกตัว ไม่ลืมตา ส่งเสียงครางอืออา หายใจเฮือก มีเสียงครืดคราด มีน้าในปากและ จมูก ตัวซีดเย็น แขนข้างซ้าย และแขนขาข้างขวา เกร็งเข้าหาล้าตัว
ได้รับการใส่Endotracheal tube
ได้รับการวินิจฉัยภาวะ Severe head injury with post arrest with respiratory failure (cause drowning)
เป้าหมายการพยาบาล
เพื่อลดความวิตกกังวลของบิดามารดา
เกณฑ์การประเมินผล
มารดาบิดามีสีหน้าสดชื่นขึ้น
ยอมรับฟังและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลและมาเยี่ยมบุตรสม่ำเสมอ
การพยาบาล
1.ประเมินความวิตกกังวลก็ต่าๆ ที่แสดงออกของบิดามารดาและครอบครัวต่อความเจ็บป่วยของทารกและการต้องอยู่โรงพยาบาลนาน ๆ เพื่อเปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึกต่างๆ ยอมรับท่าที่และปฏิกิริยาของบิดามารดาที่ตอบสนองต่อความเครียดนั้น
ให้ความช่วยเหลือและเปิดโอกาสให้ซักถามเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยของบุตรพร้อมจัดให้ได้พูดคุยกับแพทย์ที่ทำการรักษาถึงอาการที่เป็นและแนวทางการรักษา เพื่อให้บิดามารดารู้สึกไว้วางใจ กล้าที่จะซักถาม และพูดคุยความกังวล
ให้ข้อมูลแก่บิดามารดาก็งอาการเจ็บป่วยของบุตรด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายแผนการดูแลรักษาและเครื่งมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ ที่ใช้กับการกรวมทั้งการพยาบาลที่สำคัญที่จำเป็นต้องให้ในช่วงนั้น ๆ เช่น. การใส่ท่อ เป็นต้น เพื่อคลายความกังวลที่เกิดขึ้นจากความไม่รู้ของบิดามารดา
แจ้งอาการของการให้บิดามารดาทราบเป็นระยะ ๆ เพื่อให้บิดามารดาทราบความเป็นไปของบุตร
ให้ความช่วยเหลือและเปิดโอกาสให้ซักถามเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยของบุตรพร้อมจัดให้ได้พูดคุยกับแพทย์ที่ทำการรักษาถึงอาการที่เป็นและแนวทางการรักษา เพื่อให้บิดามารดารู้สึกไว้วางใจ กล้าที่จะซักถาม และพูดคุยความกังวล
ให้กำลังใจและและให้ความมั่นใจต่อบิดามารดาว่าทีมสุขภาพจะให้การดูแลและให้การรักษาบุตรอย่างเต็มที่ เพื่อสร้างความไว้วางใจต่อบิดามารดา เมื่อบิดามารดามีความไว้วางใจก็จะส่งผลให้ลดความกังวลลง