Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Respiratory Failure with Congestive Heart Failure with Alteration of…
Respiratory Failure with Congestive Heart Failure with Alteration of conscious
Respiratory Failure
พยาธิสภาพ
ภาวะหายใจล้มเหลวจากการพร่องออกซิเจน (Hypoxemic respiratory failure; type I)
เป็นภาวะหายใจล้มเหลวในระดับเซลล์ (respiratory failure at the cellular level) เมื่อเซลล์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการทำให้เกิด (tissue hypoxia) แรงดันออกซิเจนในเลือดแดงต่ำกว่า 60 มม.ปรอท กลไกการเกิด tissue hypoxia ขึ้นกับ supply และ demand ซึ่งมีความผิดปกติของ supply และเซลล์มี demand สูง
การหายใจขัดข้องหรือหายใจลดลง (hypoventilation) ทำให้นำออกซิเจนเข้าสู่ปอดลดลง
การซึมซนของเนื้อปอดลดลง (diffusion defect) ทำให้มีการเสียหน้าที่ของเนื้อเยื่อปอดและขาดออกซิเจน
การไหลเวียนของเลือดลัดไป โดยไม่ผ่านถุงลม (intrapulmonary shunting) เลือดจึงไม่ได้รับออกซิเจนหรืีอหลอดลมส่วนปลายปิดเร็วเกินไป
การกำซาบ (perfusion) หรืกระบวนการกระจายของอากาศผ่านถุงลมไปที่หลอดเลือดแดงที่ไหลผ่านปอดไม่ได้หรือผิดสัตส่วน
ภาวะหายใจล้มเหลวจากการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (Hypercapnia respiratory failure; type II)
เกิดจากการระบายอากาศลดลง (hypoventilation) ทำให้มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (hypercapnia) ซึ่งมีสาเหตุจากยา การบาดเจ็บสมอง ไขสันหลัง ทรวงอก ทำให้เกิดภาวะร่างกายเป็นกรด (respiratory acidosis) เพิ่มส่วนที่เสียไปของอากาศที่หายใจเข้าปอด (dead space, VD) เกิด ventilation/perfusion mismatch และการคำซาบออกซิเจนในเลือดลง จึงเกิดภาวะพร่องของออกซิเจนและการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์อย่างรุนแรง (CO2 narcosis) ผู้ป่วยจึงมีอาการซึม เวียนศีรษะ กระสับกระส่าย แขน-ขาอ่อนแรง ม่านตาขยายและเกิดภาวะการหายใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
สมอง
กระสับกระส่าย แขนขาอ่อนแรง เวียนศีรษะ ม่านตาขยาย หยุดหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระยะแรกชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นช้าหรือเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่ำและหยุดหายใจ
ระบบหายใจ
หายใจเร็วตื้น ถ้าเกิดร่วมกับสมองขาดออกซิเจน ผู้ป่วยจะหายใจแบบ Cheyne-Stoke
ระบบเลือดและผิวหนัง
เขียว (cyanosis)
ผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการหายใจเหนื่อยหอบ
การรักษา
เปิดทางเดินหายใจและมีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ
การใช้เครื่องช่วยหายใจ การใส่ท่อช่วยหายใจ
ดูแลให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ ลดการใช้ออกซิเจนโดยการพักผ่อนให้เพียงพอ
แก้ไขภาวะเลือดเป็นกรดโดยการปรับตั้งค่าอัตราการหายใจ (Respiratory Rate: RR) ในเครื่องช่วยหายใจ หรือให้ผู้ป่วย ได้รับสารละลายที่เป็นด่าง เช่น 7.5% NaHCO3
ยาและสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ
7.5% NaHCO3 50ml vein slowly pushx2dosp
Fentanyl 10:1 vein 10ml/hr.
Beradual 1 NB ทุก 4 hr.
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติมีสาเหตุหรือมีองค์ประกอบที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหายใจล้มเหลว มีอาการของการคั่งของ CO2 และภาวะขาด O2 เจาะเลือดหาความดันก๊าซในเลือดแดง (Arterial blood gas) พบว่ามี PaCO2 สูง และ PaO2 ต่ำ
สาเหตุ
โรคของประสาท
หลอดเลือดสมองแตก ตีบตัน (CVA) สมองบาดเจ็บ ไขสันหลังบาดเจ็บ มายแอสทีเนี่ย (myasthenia) เชื้อบาดทะยักกียา-แบเร (Guillian-Barre syndrome) โปลิโอ cystic fibrosis, sleep apnea การหายใจถูกกดจากยาสลบ ยาพิษ ยาฆ่าแมลง
โรคของปอด/ทางเดินหายใจ
ปอดได้รับบาดเจ็บ อกรวน (flail chest) ทางเดินหายใจอุดกั้น หอบหืดรุนแรง ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) ได้รับการให้เลือดจำนวนมาก จมน้ำ สูดก๊าชพิษและคาร์บอนไดออกไซด์ การหายใจถูกกดในผู้ใหญ่ (ARDS) ปอตอักเสบอย่างรุนแรง sleep apnea และมะเร็งปอด
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
มายแอสทีเนี่ย (myasthenia), muscle dystrophy
ผนังทรวงอกผิดปกติ
การบาดเจ็บทรวงอกและกระดูกสันหลังคด (scoliosis)
Congestive Heart Failure
การรักษา
รับประทานอาหารที่มีโซเดียมต่ำ
ยาขับปัสสาวะ
Hydrochlorothiazide
Furesemide
Spinolactone
Inotropic dobutamine
Nitrate
ยาลด after load
ACEI
Angiotensin II receptor blocker (ARB)
Cardio protective drug
Digoxin
HF Device therapy
ยาและสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ
ASA (81) 1tab oral OD pc
Lasix 80mg vein ทุก 6 hr.
Levophed 4:100 vein 10ml/hr.
Cordarone 900mg+5%DW 500ml vein in 24hr.
0.45% NaCl 1,000ml vein 40ml/hr.
Amiodarone 900mg+5%DW 500ml vein 8ml/hr.
Adrenalin 1amp+NSS upto 4ml NB stat then ทุก 4hr.
การวินิจฉัยโรค
ในการวินิจฉัยแยกโรค COPD มักเป็นปัญหาที่พบบ่อย โดยเฉพาะรายที่มี interstitial fibrosis จำเป็นต้องตรวจ echocardiography เพิ่ม และในบางครั้งผู้ป่วยมีทั้ง COPD และ CHF ร่วมด้วย
ในรายที่มีความรุนแรงเป็นฉับพลัน มักมีโรคนำที่ทำให้เกิด ARDS และผล ABG พบมีภาวะ hypoxia และ shunt การแยกโรคที่เฉพาะจำเป็นต้องใช้ PCWP โดยภาวะ ARDS ค่าจะปกติหรือต่ำกว่า ส่วน CHF จะสูงกว่าปกติ
Massive pulmonary embolism มักมีอาการเหนื่อยหอบรุนแรง ร่วมกับ cyanosis, acute Right heart failure, hypotension และ shock โดยอาจไม่เห็น pulmonary infiltration EKG อาจพบเป็น RVH, new RBBB
Angina equivalent หมายถึง อาการเหนื่อยหอบจาก myocardial ischemic โดยไม่มีอาการ angina และในผู้ป่วย coronary risk factor โดยเฉพาะ DM ที่มี Neuropathy
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CXR
EKG
BNP (B-Type Natriuretic Peptide)
BNP < 100 - แสดงถึง negative predictive vavle 59-96%
ถ้า > 100 เป็น strong evident HF
ถ้า > 480 มีอัตราเสียชีวิต 40% และ readmission ภายใน 6 เดือน
ถ้า < 100 exclude HF ได้ เช่น ในราย COPD BNP < 100
Echocardiogram
พยาธิสภาพ
Mechanical change จากกฎของ Frank-staring law
ภาวะเพิ่ม blood volume จากการกระตุ้นของระบบประสาท sympathetic และ renin angiotensin ทำให้ venous return หรือ preload เพิ่มขึ้น มีผลให้ myocardial fiber ยืดออกมากในช่วง diastolic จึงทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัวได้แรงขึ้น stroke volume และ cardiac output เพิ่มขึ้น แต่พอถึงจุดหนึ่งกล้ามเนื้อหัวใจจะยืดตัว (chamber dilatation) ทำให้ myocardial slippage ไม่สามารถกลับมาบีบตัวได้เหมือนเดิม จึงไม่สามารถเพิ่ม stroke volume ได้อีก ส่งผลต่อ peripheral และ central baro reflexes, chemo reflexes ทำให้กระตุ้น sympathetic nerve ทำให้เกิด systolic and diastolic failure
Systolic heart failure คือ ภาวะหัวใจวายที่มีการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
Diastolic heart failure คือ ภาวะหัวใจวายที่มีภาวะคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
ระยะแรกของภาวะหัวใจวาย ส่วนใหญ่เริ่มที่ diastolic heart failure ต่อมาจะเริ่มผสมกันระหว่าง diastolic และ systolic heart failure ระยะท้าย จะพบ systolic heart failure
Structural change (cardiac remodelling)
เมื่อมีการเพิ่ม cardiac load จะมีการเพิ่ม contractile element myofibril ทำให้หัวใจหนาตัวขึ้นได้
ขนาดเซลล์ของผนังกล้ามเนื้อหัวใจหนาขึ้น โดย chamber ไม่ขยายตัวเกิดจาก pressure overload พบได้ในภาวะ เช่น hypertension, aortic stenosis, hypertrophic obstructive cardiomyopathy (HOCM) ทำให้ myofibril ขยายตัวในแนวขนานเท่านั้น
เซลล์ของผนังกล้ามเนื้อหัวใจยึดตัวขึ้นร่วมกับมี chamber ขยายตัวขึ้นโดยเกิดจาก volume overload เช่น mitral or aortic regurgitation, left to right shunt ทำให้ myofibril ขยายตัวในแนวขนานและในแนวยาวด้วย
Neurohumoral change
เกิดจากการที่ cardiac output ลดลง ทำให้ร่างกาย
ถูกกระตุ้นจาก sympathetic nervous system, hormone และ cylokine ต่างๆ
renin angiotensin, vasopressin, endothelin, TNF, IL-6 ทำให้เส้นเลือดหดตัวรวมทั้งหลอดเลือดส่วนปลาย ทำให้หัวใจเต้นเร็ว เพื่อช่วยเหลือภาวะ hemodynamic status ของร่างกายในระยะนี้จะเป็นการชดเชย (compensatory mechanism) ช่วยร่างกาย แต่นานๆ ไป สารเป็นพิษทำลายกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้น และกระตุ้นให้เกิดสะสมน้ำเกลือแร่มากขึ้น ทำให้เพิ่มpreload ของหัวใจซีกซ้าย จึงหอบเหนื่อยจาก pulmonaly และห้องหัวใจขยายตัวและเกิดหัวใจวายห้องซ้าย (left- sided heart failure)
Redistribution change
cardiac output ลดลง ร่างกายจะรักษาการกำซาบ(perfusion) ไปสู่ vital organ เช่น สมอง กล้ามเนื้อหัวใจมากขึ้น แต่กำซาบไปในส่วนอวัยวะสำคัญรองๆ ลงไปลดลง เช่น กล้มเนื้และไต ทำให้เกิดกล้ามเนื้อเมื่อยล้าง่าย มีไข้ต่ำๆ (low-grade fever) และ renal perfusion ลดลง
Systolic heart failure and diastolic heart failure
Systolic heart failure คือ ภาวะหัวใจวายที่มีการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
Diastolic heart failure คื ภาวะหัวใจวายที่มีภาวะคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ แบ่งเป็น delayed relaxation หรือ abnormal filling ventricle
สาเหตุ
โรคความดันโลหิตสูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ
โรคเบาหวาน
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอย่างรุนแรงและเฉียบพลัน
โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยหอบ
อาการ low CO ได้แก่ อ่อนเพลีย (fatigue weakness) อาการสับสน เลอะเลือน นอนไม่หลับ ปัสสาวะน้อย และหน้ามืด
อาการ systemic congestion พบบ่อยในผู้ป่วย predominate right heart failure
อาการเหล่านี้ ได้แก่ น้ำหนักขึ้น ขาบวม central venous pressureสูง ตับโต (ส่วน left heart failure พบบวมได้บ้างแต่มักบวมไม่มาก)
ไอเวลากลางคืน (night cough)
ผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการเหนื่อบหอบ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 61 ปี เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธอาการสำคัญ หายใจหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก 15 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน 15 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการหายใจเหนื่อยหอบ ญาติจึงนำตัวส่งโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลภูมิพล) และโรคหัวใจ เป็นมาตั้งแต่ปี56 (โรงพยาบาลโรคทรวงอก)