Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด, อมลธีรา คชเวช…
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
Congestive Heart Failure ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
สาเหตุ
การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานหนัก
ชนิดหัวใจล้มเหลว
หัวใจด้านขวาล้มเหลว
ตับ ม้ามโต
มีการคั่งของน้ำในช่องท้อง
มีการยืดขยายของหลอดเลือดดำที่คอ
หัวใจด้านซ้ายล้มเหลว
เหนื่อยง่ายเมื่อมีกิจกรรม
หายใจหอบในท่านอนราบ
อาการหอบในช่วงกลางคืน
หายใจเสียงดัง
การรักษาเเละการพยาบาล
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ให้ยาดิจิทาลิสโดปามีน โดบูทามีน และการให้ออกซิเจน
ลดการทำงานของหัวใจที่เกินกำลัง เช่น การให้ยาขับปัสสาวะ การจำกัดเกลือ และโซเดียม
ให้นอนในท่าศีรษะสูง
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral Stenosis)
สาเหตุ
ไข้รูมาติค
เนื้องอกทีเอเตรียม ส่วนใหญ่เป็นเอเตรียมซ้าย จะทำให้อุดตันทางเดินเลือด
อาการ
ใจสั่น
หอบเหนื่อย
เจ็บหน้าอก
ไอเป็นเลือด
เสียงแหบ
การตรวจวินิจฉัย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ภาพรังสีทรวงอก บริเวณขอบ
หัวใจด้านขวามีเงาซ้อน
ลิ้นไมตรัลรั่ว (Mitral regurgitation) เป็นการผิดปกติของลิ้นไมตรัล ทำให้มีการไหลย้อนกลับ
ของเลือดจากเวนตริเคิลซ้ายไปยังเอเตรียมขวา
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อย
เจ็บหน้าอก
ใจสั่น
การตรวจวินิจฉัย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ จะพบมีเวนตริเคิลซ้ายและเอเตรียมซ้ายและเอเตรียมซ้ายโต
ภาพรังสีทรวงอก ขนาดของหัวใจจะโตมาก พบว่ามีเวนตริ
เคิลซ้ายและเอเตรียมซ้ายโต
การสวนหัวใจ และฉีดสารทึบแสงเข้าหัวใจ จะช่วยในการวินิจฉัยลิ้นไมตรัลรั่วได้ และบอกถึงความรุนแรง
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic Stenosis) เป็นความพิการโดยลิ้นหนาตัวขึ้น และมีการยึดติดของกลีบลิ้น ซึ่งเป็นผลจากการมีหินปูนมาเกาะจับ ทำให้รูเปิดของเอออร์ติคแคบลง
สาเหตุมี 3 ประการ
ความผิดปกติของตัวลิ้นแต่กำเนิด
เกิดจากลิ้นอักเสบจากไข้รูมาติค
เกิดจากมีหินปูนมาเกาะทีลิ้นมากผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอก
เป็นลมหมดสติ
เหนืื่อยหอบ
การตรวจวินิจฉัย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบมีผนังเวนตริเคิลซ้ายหนาตัว
ภาพรังสีทรวงอก มีเวนตริเคิลซ้ายโตและมีเลือดคั่งในปอด
การสวนหัวใจ พบว่ามีความแตกต่างระหว่างเอออร์ต้า และ
เวนตริเคิลซ้าย
ลิ้นเอออร์ติครั่ว (Aortic Regurgitation) เป็นความผิดปกติของลิ้น ทำให้เลือดออกจากเวนตริเคิลซ้าย
ไปเอออร์ต้าไหลย้อนกลับเข้าสู่เวนตริเคิลซ้าย
สาเหตุ
ลิ้นรั่วเฉียบพลันจาก เอออร์ต้าโป่งพอง และมีรอย
แตกเซาะ ติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ และจากไข้รูมาติค
ลิ้นรั่วเรื้อรัง มีสาเหตุจากไข้รูมาติค เอออร์ต้าอักเสบจากซิฟิลิส เอออร์ต้าอักเสบจากโรคของเนื้อเยื่อ เอออร์ต้าอักเสบจากโรคข้ออักเสบ
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น หัวใจเต้นแรง
เหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ ลุก
ขึ้นหอบตอนกลางคืน
ปวดที่คอบริเวณหลอดเลือดแดงแคโรติค
เวียนศีรษะเวลาลุกขึ้นยืน
การตรวจวินิจฉัย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ จะแสดงถึงผนังเวนตริเคิลซ้ายหนา
ภาพรังสีทรวงอก พบว่าขนาดของเวนตริเคิลซ้ายโต บางครั้งอาจมีเอเตรียมซ้ายโตเล็กน้อย
การรักษา โรคลิ้นหัวใจมี 2 วิธี
การรักษาทางอายุรกรรม
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
จำกัดเกลือและให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยาต้านการเจ็บหน้าอก การรักษาด้วยยาขยายหลอดเลือด
ให้ยาต้านการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
การรักษาทางศัลยกรรม
การขยายลิ้นหัวใจ (Comissurotomy Vulvotomy)
การซ่อมลิ้นหัวใจ (Repair)
การพยาบาล
1) ดูแล ส่งเสริม และการประเมินการทำงานของหัวใจเพื่อให้สามารถสูบฉีด
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างเพียงพอ
2) ดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น เนื้อเยื่อส่วนปลาย เนื้อเยื่อสมองได้รับเลือดไปเลียงไม่เพียงพอ เจ็บหน้าอก ซึ่งเกิดจากการทำงานของลิ้นหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ
3) ให้ความรู้เกี่ยวกับแผนการรักษาและการปฏิบัติตัว
4) บอกแพทย์/ทันตแพทย์เกี่ยวกับการรักษาด้วยยาต้านการ
แข็งตัวของเลือดทุกครั้งที่พบแพทย์
5) พบแพทย์เมื่อมีอาการเลือดออกไม่หยุด
ภาวะการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นภาวะที่มีการบีบรัดหรือกดต่อหัวใจอย่างเฉียบพลัน ผลมาจากความดันในช่องเยื่อหุ้มหัวใจเพิ่มขึ้น การสะสมของน้ำ เลือด หนอง ทำให้ประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจลดลง
อาการเเละอาการเเสดง
อาการเหนื่อยหอบ หายใจขัด เจ็บหน้าอก เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน หากเป็นภาวะเฉียบพลันจากอุบัติเหตุ พบ เส้นเลือดดำที่คอโป่งพองขึ้น หายใจเหนื่อย มือเท้าเย็นซีด เสียงหัวใจเบาลง ความดันต่ำ
การรักษา
-การเจาะเอาน้ำออก
-การผ่าตัดทรวงอก
-การผ่าตัดช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
การพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว ปริมาณปัสสาวะและความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง
จัดท่านอนที่สุขสบาย ส่งสริมการหายใจโดยการนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับยา Isoproterenal เพื่อเพิ่มอัตราการเต้นและบีบตัวของหัวใจ
อมลธีรา คชเวช 34/2 611501146