Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การเก็บสิ่งส่งตรวจ และการตรวจพิเศษ, 20140619_153027_Richtone(HDR),…
บทที่ 7 การเก็บสิ่งส่งตรวจ และการตรวจพิเศษ
การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด (Blood)
การเตรียมตัวก่อนเจาะเลือด
ก่อนท าการเก็บสิ่งส่งตรวจ ควรเตรียมอุปกรณ์การเจาะเลือด ตลอดจนหลอดบรรจุสิ่งส่งตรวจให้ถูกชนิดครบถ้วน ตามรายการตรวจ
พิมพ์ฉลากที่ระบุชื่อ – สกุล HN ของผู้ป่วย และวันที่เก็บสิ่งส่งตรวจให้ชัดเจนติดลงบนหลอดเลือดให้
เรียบร้อยก่อนเพื่อป้องกันความสับสนของผู้เก็บ
ก่อนเจาะเลือด ต้องถามชื่อ-สกุลผู้ป่วยก่อนทุกครั้ง พร้อมกับทวนสอบชื่อ-สกุลบนฉลากหลอดเลือดว่าถูกต้องตรงกัน
กรณีมีรายการตรวจที่ต้องงดน้ า-อาหารต้องสอบถามผู้ป่วยว่าได้รับประทานหรือดื่มอะไรมาภายใน 8 ชั่วโมงนี้
หรือไม่
วิธีการเจาะเลือด
การเจาะเลือดจากเส้นเลือดฝอยที่บริเวณผิวหนังในการเจาะเลือดเพื่อการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการบางกรณีที่ไม่สามารถเจาะจากเส้นเลือดดำได้
ผู้ป่วยที่มีเส้นดำเปราะแตกง่าย หรือบางกรณีไม่มีความจำเป็นต้องเก็บเลือดปริมาณมากเช่น การตรวจ Hct, DTX
การเจาะเลือดจากเส้นเลือดฝอยจากปลายนิ้ว
เหมาะสำหรับผู้ใหญ่ หรือเด็กที่มีอายุมากกว่า 1 ปี ขึ้นไป ควรเลือกเจาะจากมือข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
2 การเจาะเลือดจากเส้นเลือดฝอยจากส้นเท้าเด็ก
เหมาะส าหรับเด็กอ่อน หรือเด็กเล็กอายุไม่เกิน 12 เดือน หรือน้ำหนักตัวระหว่าง 3 – 10 กิโลกรัมต่ำแหน่งที่เหมาะกับการเจาะเลือด
การเจาะเลือดจากเส้นเลือดด้า (VENIPUNCTURE )
.1 เส้นเลือดด้าบริเวณข้อพับแขน (Antecubital fossa)
การเจาะเลือดจากเส้นเลือดด านิยมเจาะจากบริเวรข้อพับแขน บริเวณนี้มีเส้นเลือด 3 เส้นหลักได้แก่
Median cubital vein , Cephalic vein และ Basilic vein
เส้นเลือดดำหลังมือ
การเจาะเส้นเลือดด าที่มือควรเจาะบริเวณหลังมือ ในคนอ้วนอาจหาเส้นเลือดด าที่หลังมือได้ง่ายกว่าที่พับแขน
การเจาะเลือดบริเวณหลังมือมีโอกาสที่เลือดจะไหลเข้าสู่เนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบๆได้ง่าย
ใส่เลือดลงหลอดเก็บเลือดตามขีดปริมาตรที่ข้างหลอด โดยใส่เลือดตามล าดับดังนี้
1) ขวด Hemoculture
2) หลอด Sodium citrate (จุกสีฟ้า)
3) หลอด Clotted blood (จุกสีแดง / สีเหลือง)
4) หลอด Lithium heparin (จุกสีเขียว)
5) หลอด K3EDTA (จุกสีม่วง)
6) หลอด Sodium fluoride (จุกสีเทา)
สรุปหัวใจส้าคัญของเจาะเลือดส่งตรวจที่ถูกต้อง
พิมพ์สติกเกอร์ระบุชื่อ-สกุล HN ของผู้ป่วย ที่ด้านข้างหลอด โดยปิดแนวขนานกับหลอด ไม่ม้วนเกลียว และ
เหลือที่ว่างให้เห็นระดับปริมาตรเลือดที่ข้างหลอดเลือด
ถามชื่อผู้ป่วยก่อนเจาะทุกครั้ง พร้อมตรวจสอบชื่อสกุลบนหลอดเลือดก่อนใส่เลือด และต้อง ใส่เลือดให้พอดี
กับขีดบอกระดับปริมาตรที่ข้างหลอดเลือด
การเก็บปัสสาวะ ( Urine Collection )
การน าส่งควรท าการน าส่งปัสสาวะทันที ไม่ควรนานเกิน 2 ชั่วโมง เพราะองค์ประกอบต่าง ๆ
ถ้าไม่สามารถทำการทดสอบได้ จำเป็นต้องทำการรักษาสภาพ ซึ่งมีหลายวิธี เช่น การแช่เย็น การแช่แข็ง
การเลือกวิธีการรักษาสภาพ ขึ้นกับวิธีการทดสอบ เพราะไม่มีวิธีใดที่เหมาะกับการตรวจหาสารได้ทุกชนิด
การเก็บในตู้เย็น ( Refrigeration )
การเก็บอุจจาระ
การเก็บอุจจาระ: เพื่อส่งตรวจดูความผิดปกติและหนอนพยาธิต่างๆ (ต้องไม่ปนเปื้อน ปัสสาวะ หรือน้ำ)
ปริมาณที่ใช้: ใช้ไม้หรือช้อนตัก ประมาณ 5 กรัม หรือขนาดเท่าหัวแม่มือใส่ลงในตลับหรือกระป๋องที่ จัดเตรียมให้ พร้อมปิดฝาภาชนะบรรจุให้สนิท (เลือกเก็บตรงบริเวณที่คาดว่าอาจผิดปกติ เช่น มีมูกหรือเลือดปนอยู่)
การส่งสิ่งส่งตรวจ: นำส่งห้องปฏิบัติการทันที หากไม่สามารถนำส่งทันที ให้เก็บไว้ในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส