Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยา ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยา
ขณะตั้งครรภ์
ระบบสืบพันธ์ุ
(Reproductive System)
ช่องคลอด(Vagina)
มีสีคล้ำและนุ่มมากขึ้น
มีสารคัดหลั่งมากขึ้น เป็นสีขาวใส "leukorrhea in pregnancy"
มีความเป็นกรด pH3.5-6
รังไข่ (Ovaries)
ไม่มีการตกไข่ เพราะ Progesterone และ
Estrogenมีระดับสูง จะยับยั้ง FSH และ LH
ปากมดลูก (Cervix)
มีสีคล้ำ "Chadwick' sign "
นุ่มขึ้น"Goodell's sign"
มีมูกเพิ่มมากขึ้น(mucous plug)
เต้านม (Breasts)
หัวนมและลานนมจะมีขนาดใหญ่ สีคล้ำ
หัวนมตั้งชันขึ้น Montgomery tubercles ใหญ่ขึ้น
Estrogen กระตุ้นนการเจริญของท่อน้ำนม
Prpgesterone กระคุ้นต่อมน้ำนมให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
มดลูก (Uterus)
ปริมาตรเพิ่มขึ้นจาก 10ml เป็น 5,000ml
ตำแหน่งจะเอียงไปทางด้านขวา
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด
(Cardiovascular System)
ความดันโลหิต (Blood pressure)
ไตรมาส 1 Systolic ไม่เปลี่ยนแปลง Diastolic ลดลง 10-15 mmHg
ไตรมาส 2 ความดันจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
ไตรมาส 3 ความดันจะเท่ากับก่อนตั้งครรภ์
นอนจะกดทับ inferior vena cava and aorta
→หน้ามืด ใจสั่น หายใจไม่ออก
ปริมาตรของเลือด (Blood volume)
Plasma volume เพิ่มขึ้นจากหลอดเลือดขยายตัว
Red blood cell volume เพิ่มขึ้นประมาณ 1 เท่า <Plasma volume ซึ่งเพิ่มประมาณ 2 เท่า→Hbและ Hct ลดลง 'Physiologic anaemia of pregnancy
"or"Pseudoanemia of pregnancy" เลยทำให้มารดาซีด
หัวใจ (Heart)
ตำแหน่งสูงขึ้นไปทางซ้ายจากมดลูกที่โตขึ้นเบียดกระบังลม
Cardiac output และ Stroke volumeเพิ่มขึ้น
Heart rate เพิ่มขึ้น 15/min
ระบบทางเดินปัสสวะ
(Urinary system)
กระเพาะปัสสาวะ (Bladder)
ไตรมาส1และ3 มีอาการปวดปัสสาวะบ่อย
ไตรมาส1→มดลูกขยายไปกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ+GFRและRPF↑
ไตรมาส3→ส่วนนำเคลื่อนลงสู้อุ้งเชิงกราน กดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะค่อนมาด้านหน้าและสูงกว่าเดิม→ความตึงตัวลดลง
จากProgesterone+กระเพาะปัสสาวะขยายตัวจากEstrogen
→ความจุเพิ่มขึ้น 2 เท่า(ประมาณ 1 ลิตร)→ปัสสาวะค้างมากขึ้น→ติดเชื้อ
ไต และท่อไต
(Kidneys and Ureters)
ผลของ Progesterone→ไตจะมีขาดใหญ่ขึ้น และท่อไตขยายมากขึ้น
→ท่อไตจะยาวและขดงอมากขึ้น→ปัสสาวะคั่งในกรวยไตและท่อไต
→กรวยไตอักเสบ และติดเชื้อที่ไตและกรวยไต
มีเลือดมาเลี้ยงเพิ่มขึ้น→ จากพลาสมาและเลือดส่งออกจากหัวใจมากขึ้น
→GFRเพิ่มขึ้น→glucose, Lactose ±1(physiological glycosuria)
และ Protein (traceถึง+1)รั่วออกมา
ระบบหายใจ
(Respiratory system)
ปัจจัยด้านฮอร์โมน (Hormonal factors)
Progesterone→กล้ามเนื้อเรียบในระบบหายใจหย่อนตัว
→แรงต้านทานในหลอดลมลดลง
Estrogen→การเพิ่มขึ้นของหลอดเลือดฝอย
ในระบบทางเดินหายใจส่วนต้น
→หลอดเลือดฝอยโป่งพอง บวม เลือดคั่ง
→แน่นจมูก หายใจไม่ออก Epistaxis
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยา(Physical changes)
การเพิ่มขนาดของมดลูก→กระบังลมเลื่อนสูงขึ้น4ซม/
Anteroposterior ขยายเพิ่ม 2 ซม/เส้นรอบวงพิ่มขึ้น 6 ซม
→อาจทำให้มีภาวะหายใจลำบาก(dyspnea)
การใช้ออกซิเจน (Oxygen consumption)
มีการเพิ่มขึ้นของออกซิเจนร้อยละ 20
ออกซิเจนในร่างกายร้อยละ 50 จะถูกใช้โดยทารกและรก
การทำงานของปอด
อัตราการหายใจและความจุของปอดไม่เปลี่ยนแปลง
มีการเพิ่มขึ้นของ tidal volume→Hyperventilation
→respiratory alkalosis→การแลกเปลี่ยนO2
และCO2มารดาและทารกได้ดี