Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 :ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการประยุกต์ใช้ - Coggle…
บทที่ 4 :ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
กฎการเรียนรู้ของธอรในไดค์
กฎแห่งความพร้อม
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งการใช้
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ
การประยุกต์
ควรเปิดโอกาสชห้ผู้เรียนลองผิดลองถูก
สำรวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมของผู้เรียนเป็นสิ่งสาคัญ
ฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ
นำการเรียนรู้ไปใช้บ่อยๆ
แนวคิด
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองซึ่งมีหลายรูปแบบ มีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ เพื่อให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด
การทดลอง
จับแมวที่หิวมาใส่ในกล่องปัญหาโดยมีอาหารวางไว้ข้างนอก ครั้งแรกแมวใช้เวลาในการปลดล็อคกลอนออกมาจากกล่องนาน แต่ครั้งต่อมาทำได้เร็วขึ้น
ทฤษฏีการวางเงื่อนไข(Conditioning Theory)
พาฟลอฟ
ทฤษฎี
พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
สามารถเกิดได้จากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าธรรมชาติ
กฎแห่งการลดภาวะ (Law of Extinction)
กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ (Law of Spontaneous Recovery)
กฎแห่งการแผ่ขยายการเรียนรู้สู่สถานการณ์อื่น (Law of Generalization)
กฎแห่งการจาแนกความแตกต่าง (Law of Discrimination)
การทดลอง
ใช้สุนัขในการทดลองโดยเจาะท่อเก็บน้ำลายไว้ที่คอ จากนั้นให้อาหารพร้อมกับตัวแปรอื่นเช่นกระดิ่ง ทำซ้ำแบบนี้ไปเรื่อยๆ จากนั้นพอสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งก็จะเป็นการกระตุ้นให้น้ำลายไหล
การประยุกต์
นำความต้องการทางธรรมชาติของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้า
เสนอสิ่งที่จะสอนไปพร้อมๆ กับสิ่งเร้าที่ผู้เรียน้อบตามธรรมชาติ
การนาเรื่องที่เคยสอนไปแล้วมาสอนชหม่
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ต่อเนื่องและมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
การเสนอสิ่งเร้าให้ชัดเจนในการสอน
ควรใช้สิ่งเร้าหลายแบบ
วัตสัน
ทฤษฏี
พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้
สามารถลดพฤติกรรมให้หายไปได้
การทดลอง
เอาหนูตะเภาคู่กับทำเสียงดังให้เด็ก 11 เดือนดู
เด็กเกิดอาการกลัวหนูตะเภาและสิ่งที่คล้ายหนูตะเภา
แนวคิด
เป็นผู้ตั้งศัพท์"พฤติกรรมนิยม"
เมื่อคนเราเกิดมาจะมีการตอบสนองบางอย่างติดตัวมาด้วย และการเรียนรู้คือการนำสิ่งเร้าต่าง ๆ เข้าไปผูกพันไว้กับการตอบสนองขั้นพื้นฐานซึ่งได้มาโดยกำเนิด การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้เพราะมีการวางเงื่อนไข
การประยุกต์
ในการสร้างพฤติกรรม ควรพิจารณาสิ่งจูงใจที่เหมาะกับภูมิหลังและความต้องการของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้าควบคู่ไปกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
ลบพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาโดยหาสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไขมา้่วย
กัทธรี
“คนเราเรียนรู้จากการกระทา และคนเราจะทาสิ่งที่เรียนรู้แล้วนั้นซ้าแล้วซ้าอีก
การทดลอง
ปล่อยแมวที่หิวจัดเข้าไปในกล่องปัญหา แมวจะหาทางออกทางประตูหน้า ซึ่งเปิดแง้มอยู่ โดยมีปลายแซลมอน (Salmon) วางไว้บนโต๊ะที่อยู่เบื้องหน้าก่อนแล้ว ตลอดเวลาในการทดลอง กัทธรีจะจดบันทึกพฤติกรรมต่าง ๆ ของแมวตั้งแต่ถูกปล่อยเข้าไปในกล่องปัญหาจนหาทางออกจากกล่องได้
แนวคิด
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าและการตอบสนองเกิดขึ้นเข้าคู่กัน หรือเกี่ยวข้องกันบ่อยๆ
ขัดแย้งกับธอร์ดไดค์,สกินเนอร์,และฮัลล์ ที่เชื่อว่าการเสริมแรงเป็นหัวใจของการเรียนรู้
คนเราเรียนรู้จากการกระทำและคนเราจะทาสิ่งที่เรียนรู้แล้วนั้นซ้าแล้วซ้าอีก
การฝึกปฏิบัติหรือเรียนเพียงครั้งเดียว ก็สามารถจะเรียนรู้สิ่งนั้นโดยสมบูรณ์โดยไม่ต้องฝึกปฏิบัติซ้าๆ อีกก็ได้
ทฤษฎี
กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Contiguity)
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้แม้เพียงครั้งเดียว (One –tral Learning)
กฎของการกระทำครั้งเดียว (Law of Recency)
หลักการจูงใจ (Motivation)
สกินเนอร์
ทฤษฏี
การกระทำใดๆถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีกส่วนการกระทำที่ไม่มีการเสริมแรง แนวโน้มที่ความถี่ของการกระทำนั้นจะลดลงและหายไปในที่สุด
การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยนทำให้การตอบสนองคงทนกว่า
การลงโทษทำให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
การให้รางวัล สามารถช่วยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
การประยุกต์
ให้การเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสม
เว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ
การลงโทษที่รุนแรงเกินไปมีผลเสียมาก
ให้การเสริมแรงที่เหมาะสมทันที
ให้การเสริมแรงเท่าที่จะทาได้
ถ้านักเรียนเกิดการเรียนรู้ชนิดแผ่ขยายที่ผิดให้ใช้การเสริมแรงเพพาะ
จัดเนื้อหาวิชาจากง่ายไปยาก
ใช้บทเรียนสาเร็จรูป
การเสริมแรงด้านลบของเด็กทาให้เด็กยิ่งมีพฤติกรรมลบยิ่งขึ้น
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบเสริมแรงของฮัลล์
“จะไม่มีการเรียนรู้ชดๆที่คนเราจะเรียนรู้ได้สมบูรณใร้อยเปอรใเซนต์”
แนวคิด
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อคนเรา มีความต้องการ เป็นแรงจูงใจในกิจกรรมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองจะดีขึ้นเนื่องจาก
แรงเสริม
ความใกล้ชิดของเวลาระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ความใกล้ชิดของเวลาระหว่างการตอบสนองและแรงเสริม
ทฤษฏี
กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง
กฎแห่งการลาดับกลุ่มนิสัย
กฎแห่งการใกล้จะบรรลุเป้าหมาย
การประยุกต์
คำนึงถึงความพร้อมของผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้ควรให้ทางเลือกที่หลากหลาย
การเสริมแรงในช่วงที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด จะช่วยทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
การทดลอง
แบ่งหนูออกเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มอดอาหาร 24ชม. และแต่ละกลุ่มมีแบบแผนในการเสริมแรงแบบตายตัวต่างกัน