Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) - Coggle Diagram
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
(Classical Conditioning)
การทดลองแบ่งออกเป็น3ขั้น
คือพาฟลอฟ ได้ทำการศึกษาทดลองสุนัขให้ยืนนิ่งอยู่ที่ตรึง ในห้องทดลอง ที่แก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้ำลาย
ระหว่างวางเงื่อนไข
หลังวางเขื่อนไข
การวางเงื่อนไข
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดด์
กฎแห่งความพร้อม
-เมื่อบุคคลเกิดความพร้อมที่จะทำแล้วได้ทำ เขาย่อมเกิดความพอใจ
-เมื่อบุคคลเกิดความพร้อมที่จะทำแล้วไม่ได้ทำ เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
-เมื่อบุคคลเกิดความไม่พร้อมที่จะทำแล้วแต่ต้องทำ เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
ทฤษฎีนี้กล่าวถึงการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
กฎแห่งการฝึกหัด
-กฎแห่งการได้ใช้(Law of Use) มีใจความว่าพันธะเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองจะเข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ทำบ่อยๆ
-กฎแห่งการไม่ได้ใช้(Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองจะอ่อนกำลังลง เมื่อไม่ได้ทำอย่างต่อเนื่อง มีการขาดตอนหรือไม่ได้ทำบ่อยๆ
กฎแห่งการตอบสนอง
พันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองจะเข้มเเข็งหรืออ่อนกำลัง ย่อมขึ้นอยู่กับผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้วรางวัล จะมีผลให้พันธะสิ่งเร้ากับการตอบสนองเข้มแข้งขึ้น ส่วนการกระทำผลนั้นไม่มีผลใดๆ ต่อความเข้มแข็งของพันธะสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
ความหมาย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)เป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลางคือไม่ดีไม่เลว(neutral-passive)การกระทำต่าง ๆของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงมักคำนึงถึงความพร้อมความสามารถและเวลาที่ผู้เรียนจะเรียนได้ดีที่สุด
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขการกระทำแบบสกินเนอร์
หลักการและแนวคิดที่สำสำคัญ
เกี่ยวกับการวัดพฤติกรรมตอบสนอง
สกินเนอร์ เห็นว่า การศึกษาจิตวิทยาควรจำกัดอยู่เฉพาะพฤติกรรม ที่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน ได้นั้นสามารถวัดได้โดยพิจารณาจากความถี่ของการตอบสนองในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือพิจารณาจากการตอบสนอง
อัตราการตอบสนองและการเสริมแรง
เชื่อว่าโดยปกติการพิจารณาว่าใครเกิดการเรียนรู้หรือไม่เพียงใดนั้น จะสรุปเอาจากการเปลี่ยนแปลการตอบสนอง และการเปลี่ยนแปลงอัตราการตอบสนองจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเสริมแรง
การเสริมแรงทางบวก
ตัวเสริมแรงทางสังคม เปํนตัวเสริมแรงที่ไม่ต้องลงทุน หรือหาซื้อมีอยู่กับตัวเราค่อนข้างมีประสิทธิภาพสูงในการปรับพฤติกรรม
ตัวเสริมแรงที่เป็นกิจกรรม เป็นการใช้กิจกรรม
หรือพฤติกรรมที่ชอบไปเสริมแรงกิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ไม่ชอบ
ตัวเสริมแรงที่เป็นสิ่งของ เป็นตัวเสริมแรงที่ประกอบได้ด้วยอาหาร ของที่เล่นได้ และสิ่งของต่างๆ เช่น กางเกง รถยนต์
ตัวเสริมที่เป็นเบี้ยอถรรกร โดยการนำเบร้ยอรรถกรไปแลกตัวเสริมแรงอื่นๆได้