Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
UTI (Urinary Tract Infection) - Coggle Diagram
UTI (Urinary Tract Infection)
วินิจฉัย
CBC
11/09/2563
Neutrophils 91%
Lymphocyte 3 %
9/09/2563
Neutrophils 92%
Lymphocyte 3 %
WBC 11,620 cell/Ul
8/09/2563
Neutrophils 95%
Lymphocyte 5 %
WBC 15,930 cell/Ul
UA
9/09/2563
WBC 10-20 cells/HPF
8/09/2563
WBC 3-5 cells/HPF
พบเชื้อ E coli
พบ bacteria
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยการซักประวัติ ร่วมกับการตรวจปัสสาวะโดยส่งเพาะเชื้อ ในกรณีที่เป็นซ้ำบ่อยๆ อาจจำเป็นต้องตรวจอัลตราซาวนด์หรือส่องกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะเพิ่มเติมว่ามีความผิดปกติในกระเพาะปัสสาวะหรือไม่ เช่น มีนิ่วในกระเพาะปัสสาวะหรือนิ่วในไต
การซักประวัติ พบว่ามีอาการปัสสาวะแสบขัด และหมดประจำเดือนมานานกว่า10ปี พบว่ามีการใช้ยา Prednisolone มามากกว่า 1 เดือนซึ่งเป็นยากดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ปฏิเสธการมีโรคประจำตัว และโรคทางอิมมูน ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ Ceftriaxone 2 g vein OD
ตรวจ CBC เพื่อสังเกตอาการติดเชื้อต่อ
แพลนทำ H/C เพื่อติดตามอาการติดเชื้อในร่างกาย
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
การกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ทำให้เชื้อโรคในปัสสาวะเจริญเติบโตได้ดี
การดูแลรักษาสุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศไม่ดี โดยเฉพาะผู้หญิงหากทำความสะอาดไม่ถูกวิธี เช่น เช็ดทำความสะอาดจากด้านหลังมาด้านหน้า แทนที่จะเป็นจากด้านหน้าไปด้านหลังก็จะทำให้มีโอกาสติดเชื้อจากช่องคลอดและทวารหนักได้
การสวนล้างช่องคลอดด้วยยาปฏิชีวนะ ทำให้แบคทีเรียชนิดดีที่ทำหน้าที่ป้องกันเชื้อโรคถูกกำจัดออกไป จึงเกิดการติดเชื้อได้ง่ายขึ้น
การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน เมื่อฮอร์โมนเพศหญิงลดลงทำให้ความชุ่มชื้นบริเวณเยื่อบุช่องคลอดและเยื่อบุท่อปัสสาวะซึ่งช่วยป้องกันการติดเชื้อลดลงตามไปด้วย
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากควบคุมโรคได้ไม่ดีก็มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำอยู่แล้ว
ผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยากดภูมิต้านทาน
การใส่คาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (urinary tract infection) คือการตอบสนองของการอักเสบของเยื่อบุผิวระบบทางเดินปัสสาวะต่อการบุกเข้าของแบคทีเรีย เนื่องจากเยื่อบุผิวระบบปัสสาวะทั้งหมดเชื่อมต่อกัน ทั้งหมด ทำให้ทั้งระบบของทางเดินปัสสาวะมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อทั้งหมดและมีอาการของการติดเชื้อระบบปัสสาวะได้หลายแบบโดยส่วนใหญ่มักเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เนื่องจากผู้หญิงมีท่อปัสสาวะสั้นและอยู่ใกล้กับช่องคลอดและทวารหนัก ทำให้เชื้อโรคเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะได้โดยง่าย ขณะที่ผู้ชายมีท่อปัสสาวะยาวกว่าและอยู่ห่างจากทวารหนัก โอกาสที่เชื้อโรคจะผ่านเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะจึงมีน้อยกว่ามาก
อาการ
ปัสสาวะบ่อย แต่ครั้งละน้อยๆ มีอาการคล้ายถ่ายปัสสาวะไม่สุด
รู้สึกปวดบริเวณท้องน้อย ปวดแสบ ขัด ขณะปัสสาวะโดยเฉพาะตอนปัสสาวะสุด
ปัสสาวะขุ่น บางครั้งมีกลิ่นผิดปกติ ในรายที่เป็นมากอาจปัสสาวะมีเลือดปน
มีอาการปัสสาวะกะปริบกะปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน มีไข้ในช่วงแรก T = 37.8-38.3 ๐C
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากมีพฤติกรรมการดูแลสุขวิทยาไม่เหมาะสม