Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ,…
บทที่ 6
การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางอย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมาย
การให้ครูเป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอนโดยตรงในขณะที่การสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางคือการปล่อยให้ผู้เรียนค้นหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตัวเอง
การดำเนินการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางมี 3 ขั้นตอน คือ
ระหว่างการสอน
ภายหลังการสอน
ก่อนการสอน
การนำเสนอ คือการถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้มากกว่าไปสู่ผู้ที่มีความรู้น้อยกว่า
ระหว่างการสอน
จัดระบบข้อมูล
นำเสนอข้อมูลใหม่
อธิบายวัตถุประสงค์
สรุปประเด็นสำคัญ
ภายหลังการสอน
ครูตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจในความรู้ใหม่ที่ได้เรียนไปหรือไม่
ก่อนการสอน
พิจารณาถึงความรู้และทักษะที่ผู้เรียนมีอยู่ก่อน
เลือกและทบทวนเนื้อหา
กำหนดวัตถุประสงค์
เลือกรูปแบบในการสอนให้เหมาะกับผู้เรียน
จัดระบบข้อมูลให้สอดคล้องกับแผนการสอน
สรุป
ลักษณะการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางมีทั้งข้อดีและข้อเสียดังนั้นควรเลือกโดยคำนึงถึงสิ่งที่ครูต้องการให้เป็นภายหลังจากจบบทเรียนตามประเภทของผู้เรียนและลักษณะของเนื้อหาวิชาที่จะสอน
การสอนโดยตรง คือมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความรู้และทักษะขั้นพื้นฐานได้อย่างเป็นขั้นตอน
ระหว่างการสอน
นำเสนอวัตถุประสงค์
ให้ข้อมูลหรือทักษะอย่างถูกต้อง
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติ
ตรวจสอบความเข้าใจและให้ความเห็น
ภายหลังการสอน
ครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคล ครูอาจใช้แบบ ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ของผู้เรียน
ก่อนการสอน
กำหนดวัตถุประสงค์
วิเคราะห์เนื้อหาในแต่ละส่วน
การสอนแนวคิด การสอบแนวความคิดหลักที่เป็นรากฐานในการส่งเสริมทักษะการคิดของผู้เรียน
ระหว่างการสอน
ระบุแนวคิดพร้อมยกตัวอย่างหรือไม่ยกตัวอย่าง
ทดสอบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิด
นำเสนอวัตถุประสงค์
วิเคราะห์ความคิดและการเรียนรู้ของผู้เรียน
ภายหลังการสอน
ครูต้องประเมินความเข้าใจของผู้เรียนถึงแนวคิดที่ได้เรียนไปโดยให้ผู้เรียนเขียนอธิบายหรือทำแบบทดสอบ
ก่อนการสอน
ระบุแนวคิด
เลือกการใช้หรือไม่ใช้ตัวอย่างประกอบ
วิเคราะห์แนวคิด
จัดรูปแบบการใช้ตัวอย่างจากง่ายไปหายาก
เลือกแนวคิด
ตัดสินว่าจะใช้การสอนแนวคิดรูปแบบใด
การจัดการสภาพแวดล้อมในการเรียนสำหรับการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง
ทักษะที่จำเป็นต่อการจัดการผู้เรียน
การจัดการเรียนการสอนให้ดำเนินไปอย่างราบรื่นตลอดชั่วโมงเรียน
การดึงดูดความสนใจของผู้เรียนให้จดจ่ออยู่กับบทเรียน
ความสามารถของครูในการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในเวลาเดียวกัน
การขจัดความเบื่อหน่ายของผู้เรียน
ความสามารถของครูที่สามารถรับรู้ได้ตลอดเวลาว่าเกิดอะไรขึ้นภายในชั้นเรียน
สิ่งที่ต้องคำนึงที่จะช่วยครูจัดการกับสภาพแวดล้อมในห้องเรียน
การจดจ่อกับการเรียนในขณะที่ครูกำลังสอนอยู่
การควบคุมการเรียนการสอนให้ดำเนินไปอย่างราบรื่น
การกำหนดกระบวนการเพื่อสร้างกิจกรรมของผู้เรียน
ใช้เวลาในการเรียนการสอนให้คุ้มค่าและประสบความสำเร็จ
การตั้งกฎเพื่อควบคุมพฤติกรรมของผู้เรียน
นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา 6220160352 กลุ่มที่ 3 เลขที่ 8