Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:confetti_ball:ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร :confetti_ball:, link to…
:confetti_ball:
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
:confetti_ball:
:star: ด้านปรัชญาการศึกษา
:<3: ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม/วิวัฒนาการนิยม
การศึกษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคม, พัฒนาผู้เรียนทุกด้าน, เน้นปฏิบัติจริง สัมพันธ์กับสภาพจริง, ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง, ได้รับประสบการณ์ตรง ตามความสนใจ, วิธีสอน โครงการ อภิปรายกลุ่ม
:<3: ปรัชญาสารัตถนิยม/สาระนิยม
สัจนิยม, ยึดครูเป็นศูนย์กลาง,ครูบอกเล่า บรรยาย, ประเมินผลเน้นด้านความรู้, ถ่ายทอด อนุรักษ์สิ่งที่ดีงาม วัฒนธรรม
:<3: ปรัชญาอัตนิยม/อัตภาวนิยม/สวภาพนิยม
เชื่อว่าคน สภาพแวดล้อมเลี่ยนแปลงได้, เน้นปรับตัวเผชิญกับปัญหาต่างๆอย่างมีความสุข, มีอิสระในการเลือกเรียน, เน้นพัฒนาความสามารถ พัฒนาการ, ครู คือ ผู้ชี้แนะแนวทาง
:<3: ปรัชญานิรันตรนิยม
สิ่งคงทนถาวรเป็นสิ่งดีงาม, เนื้อหาช่วยพัฒนาปัญญา จิตใจ, เตรียมตัวเพื่อดำรงชีวิต, จัดการเรียนรู้ให้ทุกคนเหมือนกัน, อ่าน เขียน ท่องจำ คำนวน ถามตอบ
:<3: ปรัชญาด้านปฏิรูปนิยม
การศึกษา เป็นเครื่องมือเปลี่ยนแปลงสังคม,จัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาสังคม สร้างสังคมที่ดี, ผู้เรียนหาประสบการณ์ด้วยตนเอง, สำรวจความสนใจ ความต้องการของตนเอง, วิธีสอน อภิปราย แสดงความคิดเห็น, ตารางสอนจัดแบบยืดหยุ่น, ประเมินทุกด้านและทัศนคติ
:check:กำหนดจุดหมาย หลักการ โครงสร้าง :check:กำหนดแนวปฏิบัติในการใช้หลักสูตร :check:ปรัชญาการศึกษาผสมผสาน :check:จัดการศึกษามีประสิทธิภาพ พัฒนาผู้เรียนให้สมบูรณ์และสมดุล สอดคล้องความต้องการของสังคม
:star:ด้านจิตวิทยา
:red_flag:จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
:pencil2:Edward L. Thorndike กฎแห่งการเรียนรู้
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งผล
กฎแห่งความพร้อม
:pencil2: Edwin R. Guthrie
เรียนรู้จากสิ่งเร้าและการตอบสนองที่เกิดไปด้วยกัน เป็นการวางเงื่อนไขแบบติดกัน ไม่มีการให้รางวัลหรือลงโทษ หรือฝึกปฏิบัติ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
:pencil2: B.F. Skinner
เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม เน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้ เกิดจากความเต็มใจสมัครใจ แสดงพฤติกรรมที่เป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ และเสริมให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งและคงทนขึ้น
:red_flag:จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มความรู้ ความคิดนิยม
:pencil2: Gestalt รับการเรียนรู้เป็นประสบการณ์ที่มีแบบแผน เค้าโครง รูปร่าง, ส่วนรวมสำคัญกว่าแต่ละส่วนมารวมกัน
กฎแห่งการเรียนรู้
กฎแห่งความคล้ายคลึง
กฎแห่งความใกล้เคียง
กฎแห่งความใกล้ชิด
กฎแห่งความต่อเนื่อง
:pencil2:๋ Jean Piaget
พัฒนาการทางปัญญา 4 ขั้น
ขั้นใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส แรกเกิด-2ขวบ
ขั้นการปฏิบัติการเป็นรูปธรรม7-11ปี
ขั้นปฏิบัติการที่เเป็นทางการ 11-16ปี
ขั้นก่อนปฏิบัติการ2-7ปี
:pencil2:John Dewey การเรียนรู้เกิดจากการปฏิบัติฝึกฝนด้วยตนเอง
ฝึกประสบการณจากสติปัญญาของตนเอง ได้รับความคิดใหม่ ประยุกต์ใช้ได้กว้างขวางขึ้น
:pencil2:Robert M. Gegne
ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์
สติปัญญา
ความคิด
คำพูด
ทักษะ
เจตคติ
:red_flag:จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
:pencil2: Albraham Maslow
ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ความต้องการทางร่างกาย
ความต้องการความปลอดภัย/ความมั่นคง
ความต้องการความรัก ความเป็นเจ้าของ
ความต้องการได้รับความยกย่องนับถือ
ความต้องการด้านสุนทรียภาพ
ความต้องการเข้าใจความเป็นจริงของตนเอง
:pencil2:Carl R. Rogers ผู้เรียนมีแรงจูงใจ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย จะเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
เป็นจริงตามธรรมชาติ
การยอมรับและให้เกียรติผู้เรียน ยอมรับไว้วางใจ
เข้าใจ เป็นกลาง ไม่มีอคติ
:check:กำหนดจุดมุ่งหมายหลักสูตร :check:คาบเรียน :check:เกณฑ์อายุ/มาตรฐานการเข้าเรียน :check:การจัดเนื้อหาและประสบการณ์
:star:ด้านสังคมและวัฒนธรรม
:silhouette:โครงสร้างของสังคม
สังคมชนบท/สังคมเกษตรกรรม
สังคมเมือง/สังคมอุตสาหกรรม แนวโน้มโครงสร้างสังคมในอนาคต
:silhouette:ค่านิยมในสังคม
การศึกษาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมในสังคม
ค่านิยมสังคมไทยในปัจจุบัน
ค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม
ค่านิยมที่ควรสร้างและปลูกฝัง
:silhouette:ธรรมชาติของคนในสังคม
ธรรมชาติของคนไทย----->อนาคต
ยึดมั่นในตัวบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล
ยกย่องบุคคลที่มีความรู้/การศึกษาสูง
เคารพและคล้อยตามผู้มีวัยวุฒิสูง
ยกย่องผู้มีเงินและผู้มีอำนาจ
เชื่อโชคลางทางไสยศาสตร์
นิยมเล่นพรรคเล่นพวก
เฉื่อยชา ไม่กระตือรือล้น
:silhouette:การชี้นำสังคมในอนาคต
ตั้งรับการเปลี่ยนแปลง
ความต้องการและปัญหาสังคม
พํฒนาสังคมตามกระแสความเปลี่ยนแปลง
แนวโน้มของสังคโลกอนาคต
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
:check:ตอบสนองความต้องการของสังคม :check:ความเป็นจริงในสังคม :check:เปลี่ยนแปลงประเณี วัฒนธรรม ค่านิยม :check:แก้ปัญหา ปรับปรุง พัฒนาสังคม
:star:
ด้านเศรษฐกิจ
:<3:การเตรียมกำลังคน
องเพียงพอและเหมาะสมต้องสอดคล้องกับความต้องการ ลดปัญหาการว่างงาน
:<3:การพัฒนาอาชีพ
ต้องพัฒนาเกษตรกรที่อยู่ในชนบท พัฒนาอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม พัฒนาอาชีพตามศักยภาพ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
:<3: การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
ต้องดูแนวโน้มและทิศทาง ผลิตบัณฑิตเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
:<3:การใช้ทรัพยากร
ใช้ที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดรายได้และประโยชน์อย่างสูงสุดเน้นการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างคุ้มค่า
:<3: การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ
แก้ไข พัฒนาคุณลักษณะคนในระบบเศรษฐกิจ ขยันหมั่นเพียร อดออม มีสติเสริมความสามารถในการผลิต งาน อาชีพ
:<3:การลงทุนทางการศึกษา
ใช้งบประมาณของรัฐในการลงทุนกับการศึกษาซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มาก็คือกำลังคนที่มีคุณภาพ
:star: ด้านการเมืองการปกครอง
:warning:นโยบายของรัฐ
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคม
การดำเนินงานระบบต่างๆต้องต่อเนื่องและสอดคล้องกัน
:warning:รากฐานของประชาธิปไตย
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนต่อรัฐ
บทบาท หน้าที่ของประชาชนต่อด้านการเมือง
ความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมประชาธิปไตย
ความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง
ความสัมพันธ์ทางด้านการเมืองการปกตรองกับชีวิตประจำวัน
:warning:ระบบการเมืองการปกครอง
ประสบการณ์การเรียนรู้
การปลุกฝัง
เนื้อหาสาระ
นโยบายของรัฐ
สร้างความเข้าใจให้ประชาชน
:star: ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
:black_flag:ด้านความเจริญก้าวหน้า
หลักสูตรต้องทันสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลง ต้องพัฒนาคนให้ใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีให้เข้าใจและมีประสิทธิภาพ
การพัฒนาอย่างรวดเร็ว ไม่หยุดยั้ง เรียนรู้ได้เท่ากัน
:black_flag:การนำมาใช้ในการจัดการศึกษา
มีความรู้ความเข้าใจในการนำไปใช้ประโยชน์
เรียนรู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง
มีวิธีการสอนและอุปกรณ์การสอนที่ทันสมัย
เรียนรู้ดด้วยตนเองและเรียนรู้อย่างกว้างขวาง
:star: ด้านธรรมชาติผู้เรียน
:pencil2: การพัฒนาทางด้านสังคม (Ericson 1963)
ระยะเข้าโรงเรียน 6-12 ปี
ระยะวัยรุ่น 12-20 ปี
ระยะก่อนไปโรงเรียน 3-6 ปี
ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ 20-40 ปี
ระยะเริ่มต้น 2-3 ปี
ระยะผู้ใหญ่ 40-6- ปี
ขั้นที่1 ระยะทารก 0-2 ปี
ระยะวัยผู้สุงอายุ 60 ปีขึ้นไป
:pencil2:การพัฒนาทางจริยธรรม
ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 3การยอมรับกลุ่มหรือสังคม
ขั้นที่4 กฎและระเบียบของสังคม
ระดับจริยธรรมอย่างมีวิจารณญาณ
ขั้นที่5 สัญญาสังคมหรือการทำตามคำสัญญา
ขั้นที่ 6 หลักการคุรธรรมสากล
ระดับก่อนกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 2 ระดับจริยธรรมผู้อื่น
ขั้นที่ 1 ระดับจริยธรรมผู้อื่น
:pencil2: พัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียน (Piaget 1952)
:pencil2: ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน Kolb (1985)
แบบปรับปรุง
การลองผิดลองถูก
แสวงหาประสบการณ์
ทดลอง ปฎิบัติ
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
การคิดแบบเอกนัย
สรุปวิธีการที่ดีที่สุด
มีความเชี่ยวชาญ
ให้เหตุผลความคิด
นำไปใช้แก้ปัญหา
link to warning: