Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การดําเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง - Coggle Diagram
บทที่ 7 การดําเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
วัตถุประสงค์ บทนี้เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้อ่าน (นักศึกษาครู) สามารถ
เข้าใจความแตกต่างของรูปแบบการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่แตกต่างกัน
ใช้การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมาใช้ในชั้นเรียนได้
ใช้กลยุทธ์ในการสร้างการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและส่งเสริมสภาพการเรียนรู้ภายในชั้นเรียนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้
8.คําแนะนําสําหรับการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่มีประสิทธิภาพ
สําหรับการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้ ครูจะต้องทําหน้าที่เป็นผู้คอยอํานวยความ สะดวกในทุกๆด้าน รวมทั้งต้องระลึกถึงสิ่งสําคัญเหล่านี้ไว้เสมอด้วย
ไม่ขัดขวางกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน แต่ต้องสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสม
ให้แก่ผู้เรียน
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเรื่องการเรียนของผู้เรียน แต่ก็ต้องปล่อยให้ผู้เรียนได้ ตรึกตรองด้วย
ตนเองเช่นกัน
สร้างบรรยากาศแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจในชั้นเรียนเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจใคร่รู้และ
ปรารถนาที่จะเรียน
ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักนับถือความสามารถของตนเอง . พยายามทําความเข้าใจกับความต้องการ การตอบสนอง ความคิดและความรู้สึกของผู้เรียน
2.เหตุใดจึงต้องใช้วิธีสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
มีกลยุทธ์ในการเรียนที่เปิดกว้างและรู้ว่าควรจะนํากลยุทธ์เหล่านั้นมาใช้เมื่อใด
มีความรับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง
มีจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
มีความสามารถในการวางแผน สํารวจ ประเมินค่าและปรับกระบวนการเรียนรู้ได้
ใช้สื่อการเรียนที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ
รู้จุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง
4.การใช้วิธีสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในชั้นเรียน
การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้ประกอบด้วย 3 ช่วงด้วยกัน คือ วางแผน ดําเนินการและ ประเมินผล
ขั้นตอนที่ 1: วางแผน
3.การเรียนเฉพาะบุคคล
ภารเรียนเฉพาะบุคคลคือการให้ผู้เรียนทํางานของตนเองเพื่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ผู้เรียนจะรู้จัก ควบคุมตนเองและรู้สึกเป็นอิสระ ครูมีหน้าที่คอยให้คําแนะนํา ดังนั้นครูจึงต้องมีทักษะและมีความยืดหยุ่นต่อ การเรียนรู้ของผู้เรียนโดยที่ครูจะต้อง
รู้ความสามารถ ความสนใจและไหวพริบของผู้เรียน
วางแผนและกําหนดเป้าหมายให้แก่ผู้เรียน
ออกแบบการเรียนการสอนโดยเปิดโอกาสในการเรียนให้หลากหลาย
ปรับขอบเขตของบทเรียนและหัวข้อที่จะสอน
นอกจากการจัดการการเรียนรู้ของผู้เรียนแล้ว ครูจะต้องใช้เทคนิคในการสอนในการสอน ได้แก่
การตั้งคําถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดและอภิปรายร่วมกับเพื่อน
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พูดบ้าง
ให้ผู้เรียนจับคู่ถามคําถามและแลกเปลี่ยนความรู้กับคู่ของผู้เรียน
สรุปความคิดเห็นของครูก่อนจะให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
1 more item...
1.การเรียนเป็นกลุ่ม
ครูจะต้องวางแผนการสอนสําหรับกลุ่มย่อยที่ประกอบด้วยผู้เรียน 4-5 คนต่อกลุ่ม เพื่อให้การสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วยปัจจัยดังต่อไปนี้
รู้ความประพฤติ ความสนใจและไหวพริบของผู้เรียน
สร้างความมั่นใจในการจับกลุ่มของผู้เรียน
ตั้งกฎเกณฑ์สําหรับกลุ่มขึ้นสัก 2-3 ข้อ
กําหนดบทบาทสมมุติ
1 more item...
2.การเรียนเป็นรายบุคคล
รู้ความสามารถ ไหวพริบและเจตคติของผู้เรียน
วางแผนการเรียนเป็นรายบุคคล
ออกแบบงานที่มอบหมายให้ผู้เรียนทําอย่างเหมาะสมตามความสามารถที่แตกต่างกันของผู้เรียน
ขั้นตอนที่ 2: การดําเนินการ
1.การเรียนเป็นกลุ่ม
• ตั้งกฎเกณฑ์และระเบียบของกลุ่ม
ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียน
รับฟังการอภิปรายของผู้เรียน
สรุปย่องาน บทบาทของกลุ่มและระยะเวลาในการทํางานให้ผู้เรียนฟัง
2.การเรียนเป็นรายบุคคล
จัดสรรกิจกรรมที่เหมาะสม
จัดสรรกิจกรรมกลุ่มที่เหมาะสม
สรุปย่องาน บทบาทและระยะเวลาในการทํางานให้ผู้เรียนฟัง
3.การเรียนเฉพาะบุคคล
สรุปย่องาน ความคาดหวังและการชุมนุมให้ผู้เรียนฟัง
จัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมสําหรับการทํางานเดี่ยว
จัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมสําหรับการทํางานเดี่ยว
กําหนดรูปแบบในการเรียนเฉพาะบุคคล
จัดทําแผนจัดการเรียนรู้
แสดงความคิดเห็นต่อพัฒนาการของผู้เรียน
ขั้นตอนที่ 3: การประเมินผล
การประเมินผลเป็นสิ่งจําเป็นที่ทําให้ครูสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละ คนได้ นอกจากนี้การเรียนเป็นกลุ่มยังช่วยให้ครูสามารถประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มในแง่ของความ ร่วมมือตลอดจนการนําเสนอประเด็นในการเรียนรู้ได้
1.การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้เริ่มจากการทําความเข้าใจกับภูมิหลังทางการศึกษาของผู้เรียนแต่ คน ซึ่งครมีหน้าที่ขยายขอบเขตการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จในการเรียนตาม ตกประสงค์ที่วางไว้ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็ คือ การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้หมายถึงการสอนโดยให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ในฐานะครู ครูสามารถช่วยให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ของตนเองได้โดย อาศัย
เวลาที่พวกเขาได้เรียนรู้
วิธีการที่พวกเขาได้เรียนรู้
สิ่งที่พวกเขาได้เรียนรู้
นอกเหนือจากการทําความเข้าใจในแนวคิดของการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแล้ว ครูยัง จําเป็นต้องรู้ด้วยว่าสภาพแวดล้อมของการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้นควรเป็นเช่นไร ซึ่งรวมถึง
• กิจกรรมที่เสริมสร้างความร่วมมือ
การมอบหมายงานให้ผู้เรียนทําเพื่อช่วยผลักดันให้พวกเขาก้าวไปถึงเป้าหมายในการเรียน
การค้นพบสติปัญญาของตนเอง
กิจกรรมที่ส่งเสริมการคิด
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะในการเรียนรู้
การประดิษฐ์ชิ้นงานของผู้เรียน
การเชื่อมโยงกิจกรรมเข้ากับงานที่มอบหมายให้ผู้เรียนทํา
บทนํา
ในบทนี้ครูจะได้ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการของการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางซึ่งรวมถึง การเรียนเป็นกลุ่ม การเรียนเป็นรายบุคคล และการเรียนเฉพาะบุคคล
5.ประเภทของกิจกรรมสําหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1.การเรียนเป็นกลุ่ม
การทํางานเป็นกลุ่มอาจแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบคือแบบที่ใช้ระยะเวลาสั้นเช่น การอภิปรายกลุ่ม และแบบที่ใช้ระยะเวลานานกว่าประมาณ 20-25 ชั่วโมง ความร่วมมือในกลุ่มจะช่วยเสริมสร้างบทบาทของ กลุ่ม พัฒนาทัศนคติในเชิงบวกและฝึกฝนให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จได้
2.การเรียนเป็นรายบุคคล
การเรียนการสอนจะถูกจัดให้ตรงกับความสามารถของกลุ่มผู้เรียนเช่น การใช้บทเรียนแบบ e Lessons การจัดกลุ่มการเรียนรู้และการมอบหมายงานที่แตกต่างกันให้ผู้เรียน
3.การเรียนเฉพาะบุคคล
การเรียนเฉพาะบุคคลมีกิจกรรมหลายรูปแบบ ได้แก่ งานหรือโครงงานที่ทําให้ผู้เรียนรู้จักคิดริเริ่มด้วย ตนเอง ศึกษาด้วยตนเองหรือ ใช้อุปกรณ์ช่วยในการเรียนด้วยตนเอง
3.วิธีดําเนินการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนเป็นกลุ่ม
การเรียนเป็นรายบุคคล
การเรียนเฉพาะบุคคล
6.ตัวอย่างเฉพาะของกิจกรรมสําหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การสร้างศูนย์การเรียนรู้
การอภิปรายกลุ่ม
การทําโครงงาน
7.การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและการใช้อุปกรณ์ช่วยในการเรียนด้วยตนเอง
สําหรับการเรียนการสอนในรูปแบบนี้ ผู้เรียนจะต้องเลือกหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา โดยครูจะต้อง ออกแบบกิจกรรมและจัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่ตรงกับความต้องการของผู้เรียนเรียกว่าอุปกรณ์ช่วยในการ เรียนด้วยตนเองเช่น วีดีทัศน์ คําถามและเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ผู้เรียนสนใจจะศึกษาค้นคว้า ทั้งนี้ครู จะต้องจํากัดระยะเวลาในการทําการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองด้วย (เช่น 4 สัปดาห์) อย่างไรก็ตามเวลาที่ กําหนดนี้อาจปรับให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนได้