Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development), นายอลงกรณ์ สิงห์ฉลาด…
การพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development)
ความหมายการพัฒนาหลักสูตร
เซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander)
การจัดทําหลักสูตรเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น หรือเป็นการจัดทําหลักสูตรใหม่โดยไม่มีหลักสูตรเดิม อยู่ก่อน การพัฒนาหลักสูตร อาจหมายรวมถึงการสร้างเอกสารอื่นๆ สําหรับนักเรียนด้วย
ทาบา (Taba)
การเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักสูตร อันเดิมให้ได้ผลดียิ่งขึ้น ทั้งในด้านการวางจุดมุ่งหมาย การจัดเนื้อหาวิชา การเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล และอื่นๆ เพื่อให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายอันใหม่ที่วางไว้
สงัด อุทรานันท์
การทําให้ดีขึ้นหรือทําให้สมบูรณ์ขึ้น
การทําให้เกิดขึ้น
กู๊ด (Good)
การปรับปรุงหลักสูตรเป็นวิธีการพัฒนาหลักสูตรอย่างหนึ่งเพื่อให้เหมาะสมกับ โรงเรียนหรือระบบโรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอน วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมทั้งการประเมินผล
การแก้ไขหลักสูตรให้แตกต่างไปจากเดิม เป็นการสร้างโอกาส ทางการเรียนขึ้นใหม่
สรุปความหมายของการพัฒนาหลักสูตรได้ว่า การพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) หมายถึง การจัดทําหลักสูตร การปรับปรุง การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้ดีขึ้น เพื่อให้เหมาะกับความต้องการของบุคคล และสภาพสังคม
สาเหตุที่ทําให้มีการพัฒนาหลักสูตร
พื้นฐานทางด้านจิตวิทยา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม
(Humanism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสรรค์สร้างนิยม (Constructivism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
(Cognitivism)
พื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
พื้นฐานทางเศรษฐกิจและระบบเศรษฐกิจ
การใช้ทรัพยากร
การลงทุนทางการศึกษา
การพัฒนาอาชีพ
การเตรียมกำลังคน
การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจของไทย
ระบบการเมืองและการปกครอง
รากฐานของประชาธิปไตย
พื้นฐานทางด้านปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
(Progessivism)
ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม
(Reconstructionism)
ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
(Perennialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม
(Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม
(Essentialism)
พื้นฐานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์สังคม
(Social Sciences)
สังคมวิทยา (Sociology)
ศึกษาศาสตร์ (Education)
เศรษฐศาสตร์ (Economics)
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science)
หรือ วิชา เทคโนโลยี
(Technology)
วิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical Science)
การประมง (Fisheries)
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineerings)
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
(Natural Sciences)
เคมี (Chemistry)
ชีววิทยา (Biology)
ฟิสิกส์ (Physics)
พื้นฐานทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
การชี้นำสังคมในอนาคต
ค่านิยมในสังคม
ลักษณะสังคมตามความคาดหวัง
ธรรมชาติของคนไทยในสังคม
ยกย่องผู้มีเงินและผู้มีอำนาจ
เคารพและคล้อยตามผู้ได้รับวัยวุฒิสูง
นิยมการเล่นพรรคเล่นพวก
ศาสนาและวัฒนธรรมในสังคม
โครงสร้างของสังคม
สังคมชนบทหรือสังคมเกษตรกรรม
สังคมเมืองหรือสังคมอุตสาหกรรม
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
Tyler
(Tyler's Rational-Linear Approach)
ขั้นที่ 1 สํารวจความต้องการและความจําเป็น (Diagnosis of needs)
ขั้นที่ 2 ตั้งวัตถุประสงค์ของการศึกษา (Formulations of Objectives)
ขั้นที่ 3 คัดเลือกเนื้อหา
(Selection of Content)
ขั้นที่ 4 จัดระบบเนื้อหาวิชา
(Organization of Content)
ขั้นที่ 5 คัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ (Selection of Learning Experience)
ขั้นที่ 6 จัดระบบประสบการณ์การเรียนรู้ (Organization of Learning Experience)
ขั้นที่ 7 กําหนดวิธีการประเมินผลและแนวทางปฏิบัติ
(Determination of what to evaluate and of the ways and means of doing it)
สงัด อุทรานันท์
การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
การกําหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การคัดเลือก จัดเนื้อหาสาระ และกําหนดการวัดประเมินผล
การนําหลักสูตรไปใช้
การประเมินผลหลักสูตร
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
การประเมินสัมฤทธิผลของหลักสูตร
การประเมินระบบหลักสูตร
การประเมินการใช้หลักสูตร
การประเมินเอกสารหลักสูตร
การใช้หลักสูตรหรือการนำหลักสูตรไปใช้
สุมิตร คุณานุกร
การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน
การตีความความหมาย และกำหนดรายละเอียดของหลักสูตร โดยจะดำเนินการในรูปของเอกสารประกอบหลักสูตร และวัสดุอุปกรณ์
การจัดปัจจัยและสภาพต่างๆ
ภายในโรงเรียนเพื่อให้หลักสูตรบรรลุเป้าหมายผู้บริหารโรงเรียนควรสำรวจดูปัจจัยและสภาพต่างๆ ของโรงเรียนว่าเหมาะสมกับสภาพการนำหลักสูตรมาปฏิบัติหรือไม่
การสอน
รูต้องสอนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เลือกวิธีสอนให้เหมาะสม โดยผู้บริหารคอยให้ความสะดวกให้คำแนะนำ และให้กำลังใจ
สงัด อุทรานันท์
งานบริหารและบริการหลักสูตร
การบริหารและการบริการหลักสูตร
การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร
การบริการหลักสูตรภายในโรงเรียน
งานเตรียมบุคลากร
งานดำเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่น
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดทําแผนการสอน
การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
งานสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
การนิเทศและการติดตามผลการใช้หลักสูตร
การจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุน และส่งเสริมการใช้หลักสูตร
การประเมินหลักสูตร
ความหมายของการประเมินหลักสูตร
คาร์เตอร์ วีกู้ด (Carter V. Good)
การประเมินของกิจกรรมการเรียนภายในขอบข่ายของการสอนที่เน้นเฉพาะจุดประสงค์
ความหมายแรกเป็น การให้ความหมายในแง่ที่เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการประเมิน และความหมายในแง่ของกระบวนการประเมินผล
ลี ครอนบาค (Lee Cronbach)
การรวบรวมข้อมูลและการใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจในเรื่องโปรแกรมหรือหลักสูตรการศึกษา
สตัฟเฟิลบีมและคณะ (Stufflebeam; et al)
กระบวนการหาข้อมูล เก็บข้อมูล เพื่อนํามาใช้เป็นประโยชน์ในการตัดสินหาทางเลือกที่ดีกว่าเดิม
จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร
เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไป
เพื่อต้องการทราบคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิตของหลักสูตร
เพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตร
เพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องที่พบในองค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตร
ระยะของการประเมินหลักสูตร
ระยะที่ 2 การประเมินหลักสูตรระหว่างการดําเนินการใช้หลักสูตร
ระยะที่ 3 การประเมินหลักสูตรหลังการใช้หลักสูตร
ระยะที่ 1 การประเมินหลักสูตรก่อนนําหลักสูตรไปใช้
สิ่งที่ต้องประเมินในเรื่องหลักสูตร
การประเมินการใช้หลักสูตร
การประเมินสัมฤทธิผลของหลักสูตร
การประเมินเอกสารหลักสูตร
การตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ
การทดลองใช้หลักสูตร
การตรวจสอบโดยคณะพัฒนาหลักสูตร
การประเมินระบบหลักสูตร
ประโยชน์ของการประเมินหลักสูตร
ช่วยในการปรับปรุงการบริหารในสถานศึกษาและการปฏิบัติงานของบุคลากร
ช่วยในการแนะแนวทั้งด้านการเรียนและอาชีพแก่ผู้เรียน
ช่วยในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
ช่วยชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของหลักสูตรที่พัฒนา
ช่วยส่งเสริมและปรับปรุงการสอนให้ดีขึ้น
ทําให้ทราบว่าหลักสูตรที่สร้างหรือพัฒนาขึ้นนั้นมีจุดดีหรือจุดเสียตรงไหน
การพัฒนาหลักสูตรในระดับต่างๆ
หลักสูตรระดับท้องถิ่นหรือหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรระดับห้องเรียน
หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บทหรือหลักสูตรแกนกลาง
ข้อควรคํานึงเมื่อนําหลักสูตรไปใช้
หลักสูตรแฝง (Hidden Curriculum)
สิ่งที่ไม่ได้ถูกกําหนดไว้ในหลักสูตร แต่ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการรับรู้และตีความหมายผ่านสภาพบรรยากาศของการเรียนการสอน แบบแผน การกระทํา ระเบียบ กฎเกณฑ์ใน ชั้นเรียน โดยที่ครูผู้สอนเองไม่รู้ตัว หรือไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น
หลักสูตรเกิน (Extra Curriculum)
ส่วนที่เพิ่มหรือเกินจากที่กําหนดไว้ในหลักสูตร โดยการตั้งใจเจตนาของผู้เกี่ยวข้อง
หลักสูตรสูญ (Nul Curriculum)
สิ่งที่ถูกกําหนดไว้ในหลักสูตรแต่กลับถูกละเลย หรือไม่ได้ปฏิบัติตามที่กําหนดไว้ อาจเกิดขึ้นโดยความตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจของผู้ปฏิบัติหรือสิ่งที่ควร ถูกกําหนดไว้ในหลักสูตรแต่กลับถูกละเลยไม่ได้ถูกนํามากําหนดไว้ในหลักสูตร
นายอลงกรณ์ สิงห์ฉลาด รหัสประจำตัว 633110210227 หมู่ 2 สาขาวิชาสัมศึกษา คณะครุศาสตร์