Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศาสนา - Coggle Diagram
-
ประวัติศาสนา
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่าเป็นศาสนาเดียวกันจะแยกออกจากกันไม่ได้ ในช่วงที่เป็นศาสนาพราหมณ์อยู่ในสมัยก่อนพุทธกาล ครั้นเวลาล่วงมาถึงสมัยพุทธกาล ศาสนาพราหมณ์ได้วิวัฒนาการเปลี่ยนไปจากเดิม จนกลายมาเป็นศาสนาฮินดู มีชื่อว่า สนาตนธรรม ต่อมาเกิดมีพระคัมภีร์ จึงมีชื่อว่า ไวทิก ภาหลังได้เปลี่ยนเป็นชื่อ อารยธรรม หลังจากนั้นนับเวลาเป็นพันปี เมื่อพวกพราหมณ์มีอิทธิพลมากขึ้น ก็ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น พราหมณธรรม จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาอีก จึงได้ชื่อว่า ฮินดูธรรม แล้วเกิดรวมกันอีกจึงได้ชื่อว่า พราหมณ์-ฮินดู
การแบ่งยุคของศาสนา
-
-
3.ยุคฮินดู Hindu Period
ตั้งแต่พ.ศ.700 เป็นต้นมา
ไม่สอนให้นับถือพระเจ้าองค์ใดองค์หนึ่งโดยเฉพาะว่ายิ่งใหญ่ที่สุด แต่ได้รวมเอา3 เทพเจ้ามาไว้ด้วยกัน จึงเกิดชื่อใหม่ เรียกว่า ตรีมูรติ แปลว่า3 ได้แก่ พระพรหม(ผู้สร้าง) พระศิวะ(ผู้ทำลาย) พระวิษณุ(ผู้รักษา) พวกพราหมณ์ได้สร้างสัญลักษณ์ เรียกว่า โอม AUM เป็นเครื่องหมายและเป็นคำขึ้นต้นบทสวด
นารายณ์อวตาร10 ปาง
-มัตสยาวตาร
-กูรมาวตาร
-วราหาวตารร
-รสิงหาวตาร
-วามนาวตาร
-ปรศุรามาวตาร
-รามาวตาร
-กฤาราวตาร
-พุทธาวตาร
-กัลกยาวตาร
คัมภร์ศาสนา
1.ศรุติ ได้แก่ เรื่องที่ฤาษีได้ยินได้ฟังมาจากเทพเจ้า ต่อมาได้รวบรวมเป็นรูปเล่ม จัดเป็นระบบ เรียกว่า คัมภีร์ไตรเวท หรือ พระเวท ถือว่าเป็นคัมภีร์ชั้นหนึ่ง มีความสมบูรณ์ที่สุด ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด แบ่งออกเป็น 4 หมวด
-หมวดสังหิตา เป้นหมวดที่รวบรวมมตร์ต่างๆสำหรับเป็นบทบิกรรมและขับกล่อม
-หมวดพราหมณะ หมวดนี้เป็นบทร้อยแก้ว หรือเรียงความ
อธิบายระเบียบการประกอบพิธีกรมต่างๆ
-หมวดอารัณยกะ เป็นบทร้อยแก้ว ใช้เป็นตำราคู่มือการปฏิบัติของพราหมณ์
-หมวดอุปนิษัท เป็นแนวทางปรัชญาอย่างลึกซึ้ง
2.สัมฤติหรือเวทางคศาสตร์ ได้แก่ เรื่องที่จำกันมา หรือหมายถึงสิ่งที่จำไว้ แต่งขึ้นเพื่อสนับสนุนคัมภีร์พระเวท จึงเรียกว่า คัมภีร์เวทางคศาสตร์ ประกอบด้วยอีกหลายคัมภีร์ เช่น
-คัมภีร์มนู
-คัมภีร์อิติหาส
-คัมภร์ปุราณะ
-คัมภีร์อาคม
นิกายศาสนา
1.นิกายไวษณวะ Vaishnavism เป็นนิกายที่เชื่อและเคารพนับถือพระนารายณ์หรือพระวิษณุ ว่าเป็นใหญ่กว่าเทพเจ้าองค์อื่น นิกายนี้ภายหลังได้แตกแยกออกเป็น2นิกาย
-วัทคไล จัดเป็นนิกายฝ่ายเหนือ
-เตนคไล จัดเป็นนิกายฝ่ายใต้
2.นิกายไศวะ Saivism เป็นนิกายที่นับถือพระศิวะ
เป็นเทพสูงกว่าเทพองค์อื่นๆ จุดหมายสูงสุดองนิกายนี้ก็คือ โมกษะ หรือการหลุดพ้น โดยการเข้าถึงความเป็นเอกภาพกับพระศิวะ ได้แตกออกเป็นนิกายย่อย2นิกาย คือ
-นิกายกาษมีรไศวะ เจริญเติบโตทางตอนเหนือของอินเดีย
-นิกายลิงคายัต เจริญเติบโตทางตอนใต้ของอินเดีย
3.นิกายศักติ Saktism เป็นนิกายที่นับถือมเหสีองจอมเทพทั้ง3องค์ คือ พระนางสุรัสวดี มเหสีของพระพรหม พระนาง อุมา มเหสีของพระศิวะ พระนางลักษมี มเหสีของพระนารายณ์
สุดท้ายการนับถือนิกายศักติแบ่งออกเป็น 2 พวก
-ทักษิณาจาริน เป็นพวกฝ่ายขวา ที่ทำพิธีใดๆต้องเปิดเผย สุภาพ เรียบร้อย
-วามาจาริน พวกฝ่ายซ้าย ที่ทำพิธีใดๆก็ตามต้องทำในที่ลับ มีลักษณะเป็นลามกอนาจาร
พิธีกรรมทางศาสนา
1.กฎสำหรับวรรณะ
-การแต่งงาน ผู้ที่จะแต่งงานกันได้ต้องอยู่ในวรรณะเดียวกัน
-อาหารการกิน ไม่ให้กินอาหารร่วมกับคนต่างวรรณะ
-การทำมาหากิน
วรรณะพราหมณ์ เป็นนักบวช
วรรณะกษัตริย์ เป็นผู้ปกครองบ้านเมือง
วรรณะแพศย์ เป็นพวกพ่อค้า
วรรณะศูทร เป็นพวกกรรมกร
-เคหสถานที่อยู่ ตามกฎดั้งเดิม ห้ามไปตั้งถิ่นฐานนอกประเทศอินเดียและห้ามโดยสารทางทะเล
2.พิธีประจำบ้าน
-ครรภาธาน พิธีที่จัดึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ ถัดจากวันวิวาห์
-ปุงสวัน พิะรที่ปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์
-สีมันโตนยัน พิธีตัดผมมารดา
-ชาตกรรม พิธีคลอด
-นามกรรม พิธีตั้งชื่อเด็ก
-นิษกรรม พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเช้า
-อันนปราศัน พิธีป้อนข้าวเด็ก
-จูฑากรม พิฑีโกนผมไว้จุก
-เกศานตะ พิธีตัดผมจุก
-อุปนยัน พิธีคล้องด้ายศักดิ์สิทธิ์
-สมาวรรตน์ พิธีกลับบ้าน
-วิวาหกรรม พิธีแต่งงาน
3.พิธีศราทธ์ คือ พิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่มารดาหรือบิดาหรือบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้วในเดือน10โดยมีขั้นตอนดังนี้
-การบูชากระทำด้วยข้าวบิณฑ์
-การทำบุญอุทิศให้มารดา บิดา บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว
-
ขบวนการทางศาสนา
1.ขบวนการพราหโม-สมาช The Brahmo-Smaj สมาคมนี้มีความเชื่อดังนี้
-เป็นเอกเทวนิยม
-เชื่อว่า อาตมันไม่ตาย
-เชื่อในความหลุดพ้น
-
3.ขบวนการรามกฤษณะมิชชั่น The Ramakrishana Mission
ยอมรับคำสอนในทุกศาสนาในอินเดีย ไม่มีความัดแย้งกัน เป็นศาสนาแห่งนิรันดร
4.ขบวนการสรโวทัย The Sarvodya Movement
-ต้องสืบเชื้อสายมาจากวรรณะทั้ง 4 เท่านั้น
-ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับอีก 2 ประการคือ ขนบธรรมเนียมของแต่ละวรรณะ ขนบธรรมเนียมสำหรับทุกวรรณะ
-