Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา อายุ 35 ปี
G6P3A2
GA 38+4 wks. by U/S
มีโรคประจำตัวเป็น Asthma…
มารดา อายุ 35 ปี
- G6P3A2
- GA 38+4 wks. by U/S
- มีโรคประจำตัวเป็น Asthma
-
-
Tissue
ประเมินความผิดปกติของการแข็วตัวของเลือด เช่น ค่า Platelet, PT, PTT, INR
Early Postpartum Hemorrhage
เนื่องจากเป็นภาวะตกเลือดหลังคลอดที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกภายหลังการคลอดบุตรไม่ว่าจะเป็นการคลอดทาง
ช่องคลอดหรือการผ่าตัดคลอด โดยนิยามของภาวะตกเลือดหลังคลอด คือ ภาวะที่มีเลือดออกทันทีปริมาณมากกว่า 500 ml โดยสาเหตุเกิดจากจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์, bladder full, ทารกตัวโต จึงทำให้เกิดภาวะมดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Uterine atony) และสาเหตุอื่นที่ทำให้เกิดการตกเลือดหลังคลอด คือ เกิดแผลฉีกขาดตามช่องคลอด หรือมดลูกปลิ้น
Hypovolume
Venous return ⬇️
Preload ⬇️
Stroke volume ⬇️
Low cardiac
output ⬇️
Hypotension
- 2 more items...
กระตุ้น Baroreceptor
- 1 more item...
- Estimated blood loss 700 cc
การพยาบาลระยะที่ 3 ของการคลอด
- หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง เช่น การคลอดยาวนาน, การติดเชื้อถุงน้ำคร่ำ
- ตรวจสอบรกว่าครบหรือไม่
- ตรวจดูช่องทางคลอดว่ามีการฉีกขาดเพิ่มขึ้นหรือไม่ หากมีการฉีกขาดต้องเย็บซ่อมแซมโดยเร็ว โดยเย็บให้เร็วและลึกถึงก้นแผล
- ทำ Active management of third stage (Moncrieff, Gill, 2018) โดย
- ให้ Oxytocin 10 unit เมื่อไหล่หน้าทารกคลอด โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อมารดา
- ทำคลอดรกวิธี Controlled cord traction
- นวดคลึงมดลูกทุก 15 นาที โดยประเมิน Bladder full ก่อน
- ทำ Delay clamp cord
-
การพยาบาลระยะที่ 4 ของการคลอด
- ประเมินสุขภาพมารดาโดยใช้หลัก BUBBLE HE เพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการตกเลือดในมารดา
หลังคลอด
- คลึงมดลูกทุก 15 นาที เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวดี
- ให้มารดาได้ void ทุก 6-8 ชม พร้อมดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง เพื่อไม่ให้ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
- การให้ Oxytocin ต้องดูตามข้อบ่งชี้ คือมีมดลูกนิ่ม
(uterine atony) หรือคลึงมดลูกแล้วไม่ได้ผล จะให้
Oxytocin IV drip
- สังเกตปริมาณเลือดหลังคลอด 2 ชม ไม่เกิน 500 ml
- หลังคลอด 8 ชม แรก ให้มารดานอนพักจนไม่อ่อนล้า แล้วจึงกระตุ้นให้ลุกนั่งข้างเตียง
- หยุดสาเหตุของภาวะตกเลือดหลังคลอด โดยการทำ Bimanual compression คือ การใช้กำปั้นของมือข้างที่ถนัดสอดเข้าไปในช่องคลอด
บริเวณ Anterior fornix ดันขึ้นไปทางข้างบน มืออีกข้างวางบนหน้าท้อง คลำยอดมดลูก และกดลงมาบริเวณหัวเหน่า และมดลูกให้แข็ง
- จากงานวิจัยเรื่องผลลัพธ์ของการกดมดลูกส่วนล่างภาย
หลังรกคลอดทันทีร่วมกับการคลึง เพื่อป้องกันภาวะตก
เลือดหลังคลอดระยะแรกในผู้คลอดปกติ
(พรทิพย์ เรืองฤทธิ์, 2560)
พบว่าหากกดมดลูกส่วนล่างภายหลังรกคลอดทันทีนาน
10 นาทีร่วมกับการคลึงมดลูกทุกๆ 15 นาที ภายใน
2 ชม หลังรกคลอดสามารถลดปริมาณการสูญเสียเลือดได้
- จากงานวิจัยเรื่องผลของการใช้ถุงมือเย็นนวดมดลูกต่อ
การสูญเสียเลือดและระดับยอดของมดลูกในระยะที่ 2
ชม.แรกหลังคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก
(สุธิต คุณประดิษฐ์, 2553)
พบว่าการใช้ถุงมือเย็นนวดคลึงมดลูกผ่านทางหน้าท้อง
สามารถกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวและป้องกันการตก
เลือดในระยะ 2 ชม.แรกหลังคลอดได้ โดยถุงมือจะเย็บจากผ้าทำเป็นถุงมือ มีช่องสำหรับบรรจุแผ่นเจลแช่แข็ง
โดยภายในถุงมือมีพลาสติกหุ้มอยู่ เพื่อป้องกันการซึม
ของน้ำไม่ให้ด้านนอกเปียกชื้น
- จากงานวิจัยเรื่อง Postpartum Haemorrhage
: Aetiology and intervention
พบว่าให้ประเมินสาเหตุที่ส่งผลต่อการตกเลือดประกอบ
ด้วย 4T ได้แก่ Tone, Trauma, Tissue, Thrombin
โดยการป้องกันการตกเลือดระยะที่ 3 ของการคลอดจะ
แนะนำให้ใช้วิธี Active management of third stage
ซึ่งจะไม่แนะนำให้ใช้ Tranexamic acid เป็นยากลุ่ม
antifibrinolytic เพื่อเป็นการป้องกันการตกเลือดหลัง
คลอด แต่จะให้เพื่อการรักษาเท่านั้นภายในหลังคลอด
3 ชม. เนื่องจากจะทำให้ plasmin ไปทำลาย fibrin clot
ส่งผลให้เลือดออกไม่หยุด
Thrombin
Advanced maternal
age 35 ปี -> รกติด, รกค้าง
-
Load IV
- RLS 1,000 ml free flow
- 0.9% NSS 1,000 ml
-
-
เปิดเส้นเลือดดำ 2 เส้น
เพื่อชดเชยปริมาณสารน้ำที่เสียไป ก่อนจะทดแทนด้วยเลือดและองค์ประกอบของเลือดในรายที่มีการเสียเลือดปริมาณมาก
-
-
-
-
-
- จัดท่าให้หญิงตั้งครรภ์นอนศีรษะต่ำ ยกเท้าให้สูงกว่าระดับหัวใจ
- แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
-
ยา Prostaglandin E1
(Misoprostol, Cytotec) 600 mcg
-
Reference
ถิรวรรณ ทองวล. (2563). การพยาบาลมารดาและทารกในระยะที่ 2, 3 และ 4 ของการคลอด. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-342 การผดุงครรภ์และการพยาบาลมารดา-ทารก 1, นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
ปฤษดาพร ผลประสาร. (2563). การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะที่ 1-4 ของการคลอด (ตกเลือดหลังคลอดระยะแรก รกติด รกค้าง มดลูกปลิ้น. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-343 การผดุงครรภ์และการพยาบาลมารดา-ทารก 2, นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
พรทิพย์ เรืองฤทธิ์. (2560). ผลลัพธ์ของการกดมดลูกส่วนล่างภายหลังรกอดทันทีร่วมกับการคลึงมูกเพื่อป้องกันภาวะตกเลือดหลัง
คลอดระยะแรกในผู้ป่วยคลอดปกติ. นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 13:วิจัยนวัตรกรร. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจสังคม. หน้า 742.
สุธิต คุณประดิษฐ์. การตกเลือดหลังคลอด. สูติศาสตร์ฉุกเฉิน. กรุงเทพฯ:พิมพ์ดี. 2553.
Moncrieff, Gill. (2018). Postpartum haemorrhage: Aetiology and intervention. Edinburgh Napier University: Scotland.
-