Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินคุณภาพภายนอก “แนวใหม่” รอบสี่ และสมศ ปรับใช้ระบบออนไลน์,…
การประเมินคุณภาพภายนอก “แนวใหม่” รอบสี่ และสมศ ปรับใช้ระบบออนไลน์
การประเมินคุณภาพภายนอกนี้ เป็นพันธกิจ เป็นภารกิจหลักที่ สมศ จะต้องทำ ซึ่งระบุไว้ พรบ การศึกษาแห่งชาติ พ ศ 2542 มาตราที่ 49
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านการอาชีวศึกษา
การศึกษาปฐมวัย
ระดับอุดมศึกษา
กำหนดให้สำนักงานมีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและทำการประเมินคุณภาพจัดการเรื่องการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
โดยคำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ
ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้ง
ทุกห้าปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
เมื่อมีพรบ 2542 แล้วก็จะเกิด พ ร ฎ จัดตั้ง สมศ พ ศ 2543 ขึ้น
การประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
โดยคำนึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวทางการจัดการศึกษา
ในแต่ละระดับตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแห่งชาติ
เพื่อทำหน้าที่กำหนดให้สำนักงานมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกณฑ์ และวิธีการประเมินภายนอก
อำนาจหน้าที่
3 ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก
4 กำกับดูแลและกำหนดมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก
เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย
เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก
ดำเนินการโดยผู้ประเมินภายนอก รวมทั้งให้การรับรองมาตรฐาน
สำนักงานอาจดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก
2 พัฒนามาตรฐานและเกณฑ์สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก
5 พัฒนาและฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอก
จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมและสนับสนุนให้องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพหรือวิชาการ เข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ
1 พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก
วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกที่มีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
กำหนดกรอบแนวทาง
6 เสนอรายงานการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประจำต่อคณะรัฐมนตรี
เพื่อประกอบการพิจารณาในการกำหนดนโยบายทางการศึกษา และการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษา
รวมทั้งเผยแพร่รายงานดังกล่าวต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
รัฐมนตรีมีหน้าที่การควบคุมกำกับหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการศึกษา และสำนักงานงบประมาณ
จุดเปลี่ยนการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4
Expert judgment
Holistic Approach
การประเมินเชิงคุณภาพ
ประเมินเพื่อ “พัฒนา” ไม่ใช่ประเมินเพื่อรับรองว่าผ่านหรือไม่ผ่าน
ลดจำนวนการประเมิน (1 IQA + 1 EQA)
การวิเคราะห์โดย 3P
เชื่อมโยง สอดคล้อง ประกันคุณภาพภายใน
สองระยะ
ระยะประเมิน โดย สมศ
ระยะติดตามเพื่อพัฒนา โดยต้นสังกัด
เพิ่มเทคโนโลยี
คณะผู้ประเมิน
ลดภาระเอกสาร
จำนวนวันประเมิน
เป้าหมายการประเมิน
ระยะ 1 ประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ระยะ 2 ติดตามเพื่อพัฒนาโดยจัดสรรงบประมาณ
นางสาวศิริรักษ์ วดีศิริศักดิ์ รหัส 636150110071