Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาการเจ็บปวด (โดยใช้ยา💊) - Coggle Diagram
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาการเจ็บปวด
(โดยใช้ยา💊)
แนวทางการจัดการยา Pethidine
( Meperidine )
การเก็บรักษา
แนวทางการจัดการ
มีการบันทึกการใช้ โดยระบุชื่อ – สกุล เลขที่โรงพยาบาล และ จานวนที่ใช้ ในแบบบันทึกยาเสพติด
มีการตรวจนับทุกเวรโดยพยาบาล
.มีการติดป้ายยาอันตรายทซี่องยา
เก็บแยกกับยา MO ให้ชัดเจน เนื่องจากหลอดยาคล้ายคลึงกัน
เก็บไว้ในลิ้นชัก มีกุญแจล็อค แยกเก็บจากยาที่ใช้โดยพยาบาล เป็นผู้รับผิดชอบถือกุญแจ
วัตถุประสงค์
เพื่อลดโอกาสการ เข้าถึงยา
ป้องกันการสญู หาย
การใช้ยาโดยไม่มี คำสั่ง
ป้องกันความคลาด เคลื่อนในการเตรียม ด้านประเภทของยา
การสั่งใช้ยาและการ คัดลอกยา
แนวทางการจดัการ
ยืนยันความถูกต้องของผู้ป่วย พร้อมประวัติโรคหืดหอบกรณีมี ประวัติโรคหืดหอบ หรือ โรคปอด จะไม่ใช้ยา Pethidine
สั่งยา Pethidine เป็น mg และวิธีการให้ยาชัดเจน เช่น การ
dilute ฉีดช้าๆ doseที่ใช้คือ pethidine 50 mg IV push ช้าๆใช้เวลา อย่างน้อย 3- 5 นาที
ไมส่ังผสมยาฉีดPethidineรว่มกับยาอื่น
ไม่สั่งยา Pethidine เป็น 1: 1 , 1: 2 หรือใช้ตัวย่อ
หลีกเลี่ยงการสั่งยาโดยวาจา แพทย์ควรเขียนคาสั่งด้วย
ตนเอง
ยืนยันความถูกต้องของผู้ป่วยและตรวจสอบประวัติว่าผู้ป่วย เป็นโรคหืดหอบหรือไม่ ถ้ามีต้องแจ้งแพทย์
ไม่รับคาสั่งปากเปล่า (โดยไม่จาเป็น) ให้แพทย์ order ให้ ชัดเจน
ปฏิบัติตามแนวทางการรับคาสั่งยาอันตราย
ไม่รับคาสั่งกรณีแพทย์เขียน order ไม่ถูกต้อง เช่น 1 : 1
วัตถุประสงค์
เพื่อความชัดเจนใน การสื่อสารและความ ปลอดภัยของผู้ป่วย
การเตรียมยา
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยตรวจสอบ ความถูกต้องของการ ใช้ เพื่อเป็นไปตาม ข้อกาหนดและเพื่อ ความปลอดภัยของ ผู้ป่วย
แนวทางการจดัการ
พยาบาลผู้รับ order จัดเตรียมยา โดยมีการ double check ชื่อยา ขนาด โดยพยาบาลอีกคน
ตรวจสอบชื่อ สกุล เลขที่โรงพยาบาลของผู้คลอด ชื่อยา ขนาดยา จาก orderและใบคาสั่ง
จัดเตรียมยาโดยเจือจางด้วย sterile water for injection จานวนอย่างละ 5 - 10 cc เพื่อให้ยาเจือจางอย่างน้อย 10mg/ mL
ตรวจสอบ Ampule ยาอีกครั้ง ก่อนนาไปฉีด
ไม่เตรียมยา Pethidine ผสมกับยาอื่น
การบริหารยา
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยตรวจสอบ ความถูกต้องของการ ใช้ เพื่อเป็นไปตาม ข้อกาหนดและเพื่อ ความปลอดภัยของ ผู้ป่วย
แนวทางการจดัการ
ตรวจสอบชื่อ – สกุล ผู้คลอด เลขที่โรงพยาบาล HN ผู้ คลอด พร้อมดูป้ายข้อมือให้ตรงกันกับใบคาสั่งก่อนฉีดยา
ซักถามประวัติการแพ้ยา และประวัติการเป็นโรคหืดหอบ ก่อนฉีดยา ถ้ามีให้ปรึกษาแพทย์ก่อนฉีดยา
ใหค้ าแนะนา ฤทธิ์ของยาและฤทธิ์ข้างเคียง และการปฏิบัติตัว ของผู้คลอดก่อนให้ยา ได้แก่ อาการหน้ามืดใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ให้ ผู้คลอดหลับตาถ้ามีอาการหน้ามืดเวียนศีรษะ
ตรวจสอบความถูกต้องของยาและสารละลายที่ผสมอีกครั้งก่อน ให้ผู้คลอด
ดูแลให้ยา pethidine 50 mg IV push ช้าๆใช้เวลาอย่าง น้อย 3- 5 นาที
สังเกต / ซักถามอาการของผู้คลอดขณะให้ยาตลอดเวลา ถ้า มีอาการหายใจฝืด หายใจลาบากให้หยุดยา และรายงานแพทย์ทันที
การติดตามผล
วัตถุประสงค์
เพื่อติดตามผลการ ตอบสนอง มุ่งความ ปลอดภัยของผู้ป่วย เป็นสาคัญโดยติดตาม ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น ตามมา
แนวทางการจดัการ
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา , อาการข้างเคียง ได้แก่ อาการหน้ามืดใจสั่นเวียนศรีษะคลื่นไส้อาเจียนถ้ามีให้ดูแล ประคับประคองตามอาการ
ประเมินอัตราการหายใจ /ชพี จรหลังให้ยา 10-15 นาทีถา้ RR<12 ครั้ง/นาที PR<60ครั้ง/นาทีหรือ 120ครั้ง/นาที BP < 90 / 60 mm/Hg ให้รายงานแพทย์
เฝ้าระวังป้องกัน การตกเตียง นาไม้กั้นเตียงขึ้นและดูแลผู้ป่วย อย่างใกล้ชิด
เนื่องจากยามีผลในการกดการหายใจทั้งมารดาและทารกใน ครรภ์จึงควรเตรียมยา Narcan (Naloxone) ให้พร้อมใช้ทันที ในการ พิจารณาการให้ยา ควรให้ยาก่อนคลอดอย่างน้อย 1 ชม.
บันทึกการให้ยา Pethidine และกิจกรรมการเฝ้าระวังในแบบ บันทึกการพยาบาล
บันทึกการใช้ยา ในใบ ยส. ให้ถูกต้อง /ชัดเจน . บันทึกชื่อ–สกุล ชนิดยาขนาดที่ให้ลงในแบบบันทึก
การให้ยาเสพติดให้แพทย์ order ยาในระบบ คอมพิวเตอร์
แนวทางการจัดการยา Fentanyl
การเก็บรักษา
วัตถุประสงค์
เพื่อลดโอกาสการเข้าถึงยา
ป้องกันการสญู หาย
การใช้ยาโดยไม่มีคาสั่ง
ป้องกันความคลาดเคลื่อนใน การเตรียมด้านประเภทของยา
แนวทางการจดัการ
เก็บไว้ในลิ้นชัก กุญแจล็อค แยกเก็บจากยาที่ใช้โดยพยาบาลเป็น ผู้รับผิดชอบถือกุญแจ
มีการบันทึกการใช้โดยระบุชื่อ-สกุลเลขที่โรงพยาบาลและจานวนที่ใช้ใน การบันทึกยา
มีการตรวจนับทุกเวรโดยพยาบาล
การสั่งใช้ยาและการคัดลอกยา
วัตถุประสงค์
เพื่อความชัดเจนในการสื่อสาร และความปลอดภัยของผู้ป่วย
แนวทางการจดัการ
แพทย์ยืนยันความถูกต้องของผู้ป่วย ห้ามให้ผู้ป่วยที่แพ้ มอร์ฟิน หรือสารที่ ออกฤทธิ์เหมือนมอร์ฟิน
สั่งยาFentanylเป็นmcgโดยวิธีทางการให้ยาชัดเจน การdilute
การฉีดยาชา การพิจารณาตามอายุ น้าหนัก สภาพร่างกาย ภาวะโรคที่เป็นอยู่เดิม การใช้ร่วมกับยาอื่นที่กาลังใช้ในปัจจุบัน ขนาดยาที่ใช้ Fentanyl 1 amp 0.1 mg (2 cc.) แปลงเป็น mcg โดย x 1000 = 100 mcg การเตรียมให้ Dilute เป็น 10 ml ขนาดยาที่ใช้คือ 1 mcg/kg
ไม่สั่งผสมยาฉีด Fentanyl ร่วมกับยาอื่น
หลีกเลี่ยงการสั่งยาโดยวาจา แพทย์ควรเขียนคาสั่งด้วยตนเอง
ยืนยันความถูกต้องของผู้ป่วย ตรวจสอบประวัติแพ้มอร์ฟิน ถ้ามีต้อง แจ้งแพทย์
ไม่รับคาสั่งปากเปล่า (โดยไม่จาเป็น) ให้แพทย์ Order ใช้ชัดเจน
ไม่รับคาสั่งกรณีแพทย์เขียน order ไม่ถูกต้อง
การเตรียมยา
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยตรวจสอบความถูกต้อง ของการใช้ เพื่อเป็นไปตาม ข้อกาหนดและเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วย
แนวทางการจดัการ
พยาบาลผู้รับ order จัดเตรียมยา โดยมีการ check ชื่อยา ขนาดให้ถูกต้อง
ตรวจสอบชื่อสกุลเลขที่โรงพยาบาลผู้คลอดชื่อยาขนาดยาจาก order และใบคาสั่ง
จัดเตรียมยาโดยเจือจาง sterile water for injection Fentanyl 1 amp มี 2 ml (0.05 mg/ml) 1 am มี 0.1 mg. (100 mcg)
ตรวจสอบ Ampule ของยาอีกครั้ง ก่อนนาไปฉีด
ตรวจสอบการเตรียมยาอีกครั้ง โดยพยาบาลอีก 1 คน
ไม่เตรียมยาFentanylผสมกับยาอื่น
การบริหารยา
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยตรวจสอบความถูกต้อง ของการสั่งใช้ ที่เป็นไปตาม ข้อกาหนดและเป็นหลักประกัน ความคลาดเคลื่อนในการ บริหารยา
แนวทางการจดัการ
ตรวจสอบชื่อ–สกุลผู้คลอด เลขที่โรงพยาบาลHNผู้คลอดพร้อมดูป้าย ข้อมือให้ตรงกันกับใบคาสั่ง ก่อนฉีดยา
ซักถามประวัติการแพ้ยามอร์ฟิน ถ้ามีให้ปรึกษาแพทย์ก่อนฉีดยา สามารถให้ได้ในผู้คลอดที่เป็นหอบหืด
ให้คาแนะนาฤทธิ์ของยาและฤทธิ์ข้างเคียงของยาที่อาจมีได้เช่นภาวะกด การหายใจ กล้ามเนื้อกระตุก อาการหน้ามืด เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ให้แจ้ง เมื่อมีอาการ เพื่อรับการช่วยเหลือตามอาการ
ให้ผู้ป่วยหลับตาขณะ push ยา เพื่อลดอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ให้ยาแบบ IV push ช้า ๆ ใช้เวลาอย่างน้อย 3-5 นาที
สังเกต/ซักถามอาการของผู้ป่วยขณะให้ยาตลอดเวลาถ้ามีอาการหายใจ
ฝืด หายใจลาบากให้หยุดยา และรายงานแพทย์ทันที
การติดตามผล
วัตถุประสงค์
เพื่อติดตามผลการตอบสนอง มุ่งความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็น สาคัญของผู้ป่วยเป็นสาคัญ โดย ติดตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น ตามมา
แนวทางการจดัการ
ติดตามประสิทธิผลของการให้ยา, อาการข้างเคียง ได้แก่ ภาวะกดการ หายใจ หายใจช้า หน้ามืด เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ามีให้ดูแลประคับประคอง ตามอาการ
ประเมินอัตราการหายใจ / ชีพจรหลังให้ยา 10 – 15 นาที ถ้า RR<12 ครั้ง/นาที PR<60 ครั้ง/นาที BP < 90/60 mm/Hg ให้รายงานแพทย์
เฝ้าระวังป้องกัน การตกเตียง นาไม้กั้นเตียงขึ้นและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
เนื่องจากยามีผลในการกดการหายใจทั้งมารดาและทารกในครรภ์จึงควร เตียมยา Narcan (Naloxone) ซึ่งเป็น Antidose ของ Fentanyl ให้พร้อมใช้ ทันทีในการพิจารณาการให้ยา ควรให้ยาก่อนคลอดอย่างน้อย 1 ชม.
การบันทึก
วัตถุประสงค์
เพื่อความชัดเจนในการสื่อสาร และความปลอดภัยของผู้คลอด
แนวทางการจดัการ
แพทย์
แพทย์เขียนorderในใบแผนการรักษา
เขียนใบสั่งยาและใบสั่งยาพิเศษอย่างละ1ใบโดยระบุเหตุผลของการใช้
ยาในช่องหมายเหตุให้เรียบร้อย เช่น ผู้คลอดเป็นโรคหอบหืด เป็นต้น
พยาบาล
บันทึกการให้ยา Fentanyl และกิจกรรมการเฝ้าระวังในแบบบันทึกการ พยาบาล
บันทึกการใช้ยาและตรวจสอบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยในใบสั่งยาพิเศษที่แพทย์ เซ็นต์ให้เรียบร้อย
นาใบสั่งยา ไปเบิกยาคืนได้ที่ห้องดมยา เมื่อได้ยาคืน ควรเก็บยาให้ถูกต้อง ตามหลักการบริหารยา