Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา) ❌💊,…
การดูแลผู้คลอดเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด (โดยไม่ใช้ยา)
❌💊
การลดตัวกระตุ้นความปวด
การเคลื่อนไหว
การนั่งการนั่งเก้าอี้โยก (rocking)
การนั่งเอียงไปมาบน ลูกบอล (swaying)
การนั่งเก้าอี้ที่กลับหลังและซบหน้าบนพนักพิงเก้าอี้ (sitting backwards on a chair)
นั่ง ยอง
การเดิน
การเต้นราช้า ๆ
ท่า
ท่าศีรษะและลาตัวสูง (upright position)
ข้อดีของท่าศีรษะและลาตัวสูง
เลือดและออกซิเจนมี เพียงพอไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมดลูก
จึงลดอาการเวียนศีรษะ เพิ่มความสุขสบาย อาการปวดบริเวณท้องและหลัง
ท่าคุกเข่า (all four or hands and knees position)
ข้อดีของท่าคุกเข่า
ช่วยลดอาการปวดหลังกรณีที่ทารกมีท้ายทอยอยู่ด้านหลัง ช่องเชิงกรานมารดา (occipitoposterior position)
ช่วยการหมุนของศีรษะให้ท้ายทอยมาอยู่ ด้านหน้าช่องเชิงกรานมารดาได้
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การประคบร้อน และเย็น
การประคบร้อนช่วยเพิ่มความทนต่อความปวดมากขึ้น เนื่องจากความร้อนจะเพิ่มการ ไหลเวียนเลือด เพิ่มอุณหภูมิของผิวหนัง กล้ามเนื้อ และการเผาผลาญของเนื้อเยื่อ
การประคบความเย็นทาให้การส่งกระแสประสาทล่าช้า ความปวดจึงลดลงเพราะความเย็น ช่วยลดการไหลเวียนของเลือด อุณหภูมิของผิวหนังและกล้ามเนื้อ การเผาผลาญและการเกร็งของกล้ามเนื้อ
การบ้าบัดโดยใช้น้าหรือวารีบ้าบัด
ทำให้สตรีตั้งครรภ์ปวดน้อยลง
ได้รับยาลดปวดน้อยกว่า สตรีตั้งครรภ์กลุ่มที่คลอดตามปกติ
การสัมผัส การนวด และการกดจุด
การลูบ
นวดเพียงเบา ๆ ใช้ปลายนิ้วมือลูบเป็นวงกลมด้วยจังหวะสม่าเสมอ ไม่ออกแรงกดกล้ามเนื้อ ตาแหน่งที่ลูบเพื่อบรรเทาความปวดในระยะที่ 1 ของการคลอดคือ บริเวณท้องหรือ หน้าขา โดยการลูบหน้าท้อง (abdominal effleurage) มี 2 วิธี คือ 1) ใช้ปลายฝ่ามือทั้ง 5 นิ้วของข้างที่ถนัด นวดเป็นวงกลม วนขวาจากวงกลมเล็ก ๆ แล้วค่อยขยายเป็นวงกลมใหญ่ขึ้นด้วยจังหวะสม่าเสมอ ทาซ้า ๆ ตลอดระยะเวลาที่มดลูกหดรัดตัว 2) วางฝ่ามือทั้ง 2 ข้าง ที่เหนือหัวหน่าวของสตรีตั้งครรภ์ เมื่อมดลูกเริ่มหด รัดตัวให้ลูบฝ่ามือขึ้นไปที่ยอดมดลูกทางด้านข้างของครรภ์ทั้ง 2 ข้าง ให้มือมาเจอที่ยอดมดลูกแล้วลูบลงตรง ๆ ไปที่หัวหน่าว
การนวด
การนวดจะลงน้าหนักที่กล้ามเนื้อมากกว่าการลูบ ซึ่งการลงน้าหนักขึ้นอยู่กับความต้องการของ ผู้คลอด จะใช้เวลานวดนาน 30 นาทีต่อครั้ง
ช่วยให้ผู้คลอดอบอุ่นใจ ผ่อนคลายร่างกาย แต่อย่างไรก็ตามการ นวดในระยะคลอดนั้น ผู้นวดต้องผ่านการอบรมและฝึกฝนจนเกิดความชานาญก่อน จึงจะนวดลดปวดให้ ผู้คลอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การกดจุด
การกดจุดเป็นการกระตุ้นปลายประสาทขนาดใหญ่ ในระยะคลอดจะกดจุดที่ตาแหน่ง เอสพี6(SP6)ซึ่งอยู่เหนือข้อเท้าแอลไอ4(LI4) หรือจุดเหอกู่(Hegu) ซึ่งอยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ ส่วนแรก และบีแอล 67 (BL67) อยู่บริเวณปลายนิ้วก้อยของนิ้วเท้า โดยใช้น้าหนัก 3-5 กิโลกรัม กดนาน 10 วินาที ปล่อย 2 วินาที รวมเวลา 20-30 นาที
ผู้ที่กดจุดให้ผู้คลอด จาเป็นต้องได้รับการฝึกฝนอย่างถูกต้องตามหลักการแพทย์แผน โบราณของจีน เพราะเป็นวิธีที่ต้องอาศัยความชานาญเฉพาะทางจึงจะนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมี ความปลอดภัย
การส่งเสริมการยับยังการส่งกระแสประสาทจากไขสันหลังในระดับสมอง
การใช้ดนตรี
กลไกที่แท้จริงของดนตรีต่อบุคคลอธิบายได้ไม่ชัดเจนนัก แต่เชื่อว่าวัตถุ 2 อย่างที่มีความถี่ ใกล้เคียงกัน เมื่อมีการสั่นสะเทือน จะทาให้คลื่นผสานจนเป็นความถี่เดียวกัน เรียกว่าเกิดการสั่นพ้อง (resonance) หรือถ้าเป็นการสั่นสะเทือนของเสียงที่ความถี่ใกล้เคียงกับคลื่นอื่น จะเกิดการรวมของคลื่นเสียง (amplitude) สูงขึ้นและปรับความถี่ใกล้เคียงกัน ซึ่งเสียงดนตรีจะเคลื่อนผ่านร่างกายในลักษณะคลื่น โดยการ รับเสียงที่เซลล์ขนของหู จะเปลี่ยนการสั่นสะเทือนของเสียงเป็นกระแสประสาทส่งไปสมอง และเซลล์ขนที่ผนัง ของเยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งอยู่ติดกับน้าเหลืองของหูชั้นใน ดนตรีบรรเลงช่วยให้ผู้ฟังผ่อนคลายมากกว่าเพลงที่มีเนื้อร้อง เสียงดนตรีเพื่อการผ่อนคลายควรมีระดับเสียง45-50 เดซิเบล
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ (attention-focusing and distraction)
การเพ่งและเบี่ยงเบนความสนใจ เป็นวิธีช่วยให้เผชิญความเจ็บปวด โดยให้ผู้คลอดเพ่งดูที่จุด หนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่ขณะมดลูกหดรัดตัวเพื่อให้เกิดสมาธิ เกิดสัญญาณที่แรงกว่าไปทดแทนสัญญาณจากการ หดตัวของมดลูก มีผลให้ระดับการรับรู้ต่อความรู้สึกเจ็บปวดลดลง และระดับความทนทานต่อความรู้สึก เจ็บปวดจะเพิ่มขึ้น เพราะสมองถูกระงับการส่งข้อมูลความปวดจากไขสันหลัง อธิบายได้ตามทฤษฏีควบคุม ประตู (The Gate Control Theory)
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 ซม.
ให้เดิน 🚶♀️
พูดคุย🥳
อ่านหนังสือ📖
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8 ซม.
ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
นับลมหายใจเข้าออกขณะ มดลูกหดรัดตัว
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 ซม.
ให้หายใจลึกๆ เพ่งตามองที่จุดหนึ่งจุดใดอย่างแน่วแน่ ขณะ มดลูกหดรัดตัว
สุคนธบาบัด
สุคนธบาบัดเป็นการใช้น้ามันหอมระเหยจากพืชหอม สกัดจากดอกไม้ ใบไม้ เปลือกไม้ เนื้อไม้ ราก และเมล็ด ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปแบบการสูดดม โดยกลิ่นจะถูกส่งผ่านทางเส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) ไปยังสมองส่วนลิมบิก (limbic) ส่วนฮิปโปแคมปัส (hippocampus) และอะมิกดาลา (amygdala) ซึ่ง เป็นสมองที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองด้านอารมณ์ สารในน้ามันหอมระเหย มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการ รับรู้ต่อความปวด
การใช้เทคนิคการหายใจ (breathing technique)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดช้า ระยะปากมดลูกเปิดไม่เกิน 3 เซนติเมตร ควร แนะนาการหายใจแบบช้า (slow-deep chest breathing)
วิธีหายใจในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
หายใจแบบเร็วตื้นและเบา (shallow accelerated decelerated breathing)
หายใจแบบหอบสลับเป่าปาก (shallow breathing with forced blowing out หรือpant-blow breathing)
การเบ่งคลอด (pushing)
การเบ่งคลอดแบบวัลซัลวา (valsalva pushing)
การเบ่งคลอดแบบเปิดกล่องเสียง (opened glottis pushing)
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
พยาบาลผดุงครรภ์ต้องดูแลสุขอนามัยผู้คลอดทั้งทางร่างกาย และปากฟันให้สะอาด โดยเฉพาะช่วงที่ งดน้าและอาหาร เพราะช่องปากจะแห้ง ริมฝีปากอาจแตก ต้องดูแลให้ผู้คลอดบ้วนปากบ่อยๆ ให้ได้รับสารน้า ทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษาของแพทย์ คอยดูแลปรับหยดสารน้าให้ได้ตามปริมาณที่แพทย์มีคาสั่ง รักษา และอาจเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้าให้หากพบว่าชื้นด้วยเหงื่อ หรือหากมีสิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอดเปรอะเปื้อน ต้องเช็ดทาความสะอาด และใช้ผ้าแห้งรองใต้ก้น
เพื่อให้ผู้คลอดสุขสบายมากที่สุดเท่าที่จะทำได้
การช่วยให้ผู้คลอดเผชิญกับความปวดและ ความไม่สุขสบาย
การจัดสิ่งแวดล้อม
ด้วยการจัดสิ่งแวดล้อมให้มีความเป็นส่วนตัวมากเท่าที่จะทาได้ เช่น กั้นม่าน เป็นต้น ปูเตียงด้วยผ้า สะอาด แห้ง ให้เรียบตึง เสื้อผ้าที่สะอาดและแห้ง มีผ้ารองเลือดหรือน้าคร่าใต้ก้นผู้คลอด เปลี่ยนผ้าให้ทุกครั้งที่ ผ้าชุ่ม และอนุญาตให้ญาติเฝ้าคลอดได้
การเคลื่อนไหวลักษณะดังกล่าวจะช่วยให้ผู้คลอดรู้สึกสุขสบายและลดปวด ได้