Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 18 ความเป็นครู-พหุวัฒนธรรมศึกษา, นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา…
บทที่ 18 ความเป็นครู-พหุวัฒนธรรมศึกษา
รากฐานของพหุวัฒนธรรม
ชนชั้นและสถานภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ
เกณฑ์ในการใช้แยกชั้นทางสังคมของบุคคล
สถานภาพทางสังคม
สถานภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ
สัญลักษณ์ทางสถานภาพ
ความแตกต่างของชนชั้น
กลุ่มผู้จบปริญญาตรี มนุษย์เงินเดือน
กลุ่มคนทำงานที่ต้องใช้แรงงานตามโรงงาน
กลุ่มชั้นผู้นำ
กลุ่มที่ศึกษาต่ำกว่าระดับมัธยมปลายแรงงานระดับล่าง
ชนชั้นของสังคมเป็นการแบ่งคนในสังคมซึ่งมีพฤติกรรมและแบบแผนการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน
ความชำนาญพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับครู
อนาคตพหุวัฒนธรรมศึกษาเป็นที่ยอมรับมากขึ้น
ความหลากหลายในห้องเรียน
วัฒนธรรม ผู้เรียนไม่ได้เกิดมาพร้อมวัฒนธรรมแต่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้วัฒนธรรมจากสังคมที่เก่าอยู่และปฏิบัติสืบต่อกันมาจึงเกิดเป็นวัฒนธรรม
พหุวัฒนธรรมศึกษาเป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติทางการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้คนในสังคมเท่าเทียมความเสมอภาคและเสรีภาพและรักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่แตกต่างกัน
ระดับห้องเรียน
ศาสนา
ศาสนาพุทธ
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาคริสต์
เพศและสถานภาพทางเพศ
เอกลักษณ์ทางเพศ
บทบาททางเพศ
สถานภาพทางเพศ
เชื้อชาติและชาติพันธุ์
เชื้อชาติ จะอธิบายถึงแหล่งกำเนิด เชื้อชาติจะบอกได้ถึงความเป็นตัวตนที่มาและการศึกษา
ความหลากหลายทางชาติพันธุ์และเชื้อชาติ
ชาติพันธุ์ แบ่งตามลักษณะทางภูมิภาคบางกลุ่มมีลักษณะทางภาษาศาสตร์หรือทางศาสนาที่แตกต่างกัน
การอพยพ
ภาษา
ภูมิประเทศ
อายุ
รุ่นของกลุ่มคน
การจัดการเรียนการสอนแนวพหุวัฒนธรรม
การเรียนการสอนเพื่อความเสมอภาคในสังคม
การพูดถึงความยุติธรรมและเสริมพลัง
การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
การสอนโดยคำนึงถึงวัฒนธรรม
การตั้งความคาดหวังให้สูงไว้
การดูแลเอาใจใส่
การมีเจตคติที่ดีต่อความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
การรับฟังเสียงของผู้เรียน
การให้ความสนใจแก่ผู้เรียน
การเรียนการสอนแบบพหุวัฒนธรรม
การสร้างบรรยากาศของห้องเรียนที่เป็นพหุวัฒนธรรม
การสนับสนุนนิสัยส่วนตัว
การเริ่มต้นการเรียนการสอนแบบพหุวัฒนธรรม
บรรยากาศในโรงเรียน
ข้อความที่ส่งถึงผู้เรียน
ความสัมพันธ์ของผู้เรียนและครู
หลักสูตรซ่อนเร้น
การสื่อสารของครูและผู้เรียน
การพัฒนาความชำนาญด้านพหุวัฒนธรรม
นำการฝึกฝนมาใช้
การสอนในฐานะกิจกรรมทางสังคม
รู้จักตนเองและผู้อื่น
มุ่งที่ห้องเรียน
ขอบเขตของพหุวัฒนธรรมศึกษา
จุดเน้นสำคัญในการพัฒนาพหุวัฒนธรรมศึกษา 5 ด้าน
3 การลดอคติ
4 การจัดการเรียนการสอนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
2 กระบวนการสร้างความรู้
5 การเสริมสร้างศักยภาพของพหุวัฒนธรรมศึกษาและโครงสร้างทางสังคมในโรงเรียน
1 การบูรณาการเนื้อหา
โรงเรียนเนลพหุวัฒนธรรมศึกษามีคุณลักษณะ 8 ประการ
4 ภาษากลางและภาษาท้องถิ่นของโรงเรียน
5 สื่อและวัสดุการสอน
3 การเรียนการสอนและรูปแบบวัฒนธรรมของโรงเรียน
6 การประเมินและวิธีการทดสอบ
2 แบบแผนของหลักสูตรและวิชาที่สอน
7 วัฒนธรรมโรงเรียนและหลักสูตรเพิ่มเติม
1 เจตคติมุมมองความเชื่อและการปฏิบัติของบุคลากรในโรงเรียน
8 โปรแกรมให้คำปรึกษา
สรุป
ครูและผู้บริหารควรให้ความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นพหุวัฒนธรรมศึกษาแก่ผู้เรียนซึ่งจะช่วยให้เด็กเข้าใจและยอมรับเพื่อนยอมรับความแตกต่างและการจัดการแบ่งแยกในการจัดการเรียนการสอน ทำให้สามารถบรรลุความสำเร็จทางวิชาการ
นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา 6220160352 กลุ่มที่ 3 เลขที่ 8