Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3, มารดามีประวัติการตั้งครรภ์ครั้งนี้เป็นครั้งที่6 - Coggle…
กรณีศึกษาที่ 3
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
เวลา 15.00 น.
🤱🏻 มารดา อายุ 35 ปี
🤱🏻G6P3A2 GA 38+4 สัปดาห์
🤱🏻by U/S เคยขูดมดลูก 1 ครั้ง
🤱🏻มีโรค ประจำตัวเป็นAsthma
มารดารายนี้มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
สาเหตุและปัจจัย
ใช้หลักประเมิน 4 T
Trauma
เกิดการฉีกขาดของฝีเย็บระดับที่2
มีการฉีกขาดของชั้นกล้ามเนื้อฝีเย็บ
Primary Postpartum hemorrhages
1 more item...
Tissue
มีเศษรกหรือเศษทารกค้างอยู่ในโพรงมดลูก
Thrombin
ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
Tone
Macrosomia
ทารกมีน้ำหนักตัว3800 kg
กล้ามเนื้อมดลูกขยายเกินไป
1 more item...
การประเมินสาเหตุการตกเลือดเพิ่มเติม
การซักประวัติ
เพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงในการตกเลือดหลังคลอด
ประวัติการมีเลือดออกผิดปกติ
มีภาวะโลหิตจาง
ประวัติโรคเลือด
ครรภ์แฝด
ภาวะน้ำคร่ำมาก
การคลอดยาก
การผ่าตัดมดลูก
การตกเลือดในครรภ์แฝด
การตรวจร่างกาย
เพื่อสามารถคาดคะเนปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดภายหลังทารกคลอด
สังเกตอาการแสดงของการเสียเลือด
ซีด
ตัวเย็น
เหงื่อออก
ใจสั่น
รู้สึกกระหายน้ำ
มีอาการหาว
เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองน้อย
ไม่รู้ตัว
ช็อก
ตรวจรก
การตรวจLab
Hctหลังคลอด
CBC
Thrombin time
Prothrombin time
Partial thromboplasma time
Platelets count
Fibrinogen concentration
การป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ระยะรอคลอด
Active phase
ประเมิน Uterine Contraction ทุก 30 min - 1 hr
กระตุ้นให้มารดาปัสสาวะทุก 2 hr
งดอาหาร งดน้ำดื่มและให้สารน้ำ
ตรวจภายในทุก 2 hr
ประเมิน
3 more items...
Latent phase
กระตุ้นให้มารดาถ่ายปัสสาวะทุก 2 hr
ดูแลให้รับอาหารอ่อน ย่อยง่าย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 hr
Duration
Interval
ตรวจภายในทุก 4 hr เพื่อประเมิน
Cervix Dilation
Cervix Effacement
Station
ระยะคลอด
Clam และตัดสายสะดือทารกประมาณ 3 นาที
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกทันทีหลังทารกคลอด
ทำคลอดรกโดย Controlled Cord traction
ระยะหลังคลอด
ก่อนย้ายไปหอผู้ป่วยสูติกรรมหลังคลอด
ประเมินการแข็งตัวของมดลูก
ประเมินการเสียเลือดจากผ้าอนามัย
ประเมินการเสียเลือดจากผ้าอนามัย
หลังคลอด 2 hr แรก
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก และคลึงมดลูกทุก 15 นาที จนครบ 2 ชม.
RLS 1000ml+Oxytocin 20 unit vien
การประเมินและซักประวัติเกี่ยวกับโรคประจำตัว
Asthma
ซักประวัติ
ปัจจัยทางพันธุกรรม
สมาชิกในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
สารก่อภูมิแพ้
4 more items...
ความเครียด
ไอ แน่นหน้าอก
หายใจมีเสียงหวีด
อาการหอบเหนื่อยเป็นๆหายๆ
มีอาการหอบหืดเกิดขึ้นหลังออกกําลังกายหรือทำงานบ้าน
ตวรจร่างกาย
มีอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น
มีอาการหายใจลำบากหรือหอบ
ฟังปอดได้ยินเสียงwheezingจากปอดทั้ง2ข้าง
ผลทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจสมรรถภาพการ ทํางานของปอด (สไปโรเมตรีย์)
เพื่อตรวจหาการอุดกั้น ของทางเดินหายใจ ผู้ป่วยโรคหืด
การรักษา
รักษาด้วย corticosteroid ชนิดสูด ร่วมกับยาขยายหลอดลมและยาอื่น ตามความรุนแรงของอาการ
มารดามีประวัติการตั้งครรภ์ครั้งนี้เป็นครั้งที่6