Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 17 ความเป็นครู-จิตตปัญญาศึกษา, นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา…
บทที่ 17 ความเป็นครู-จิตตปัญญาศึกษา
ความหมายของจิตตปัญญาศึกษา
กระบวนการเรียนรู้จากภายในทำให้ได้มาซึ่งความรู้ประสบการณ์และกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง เห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณลักษณะภายในที่ถาวรของผู้เรียน
ความสำคัญของจิตตปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองต่อความเป็นครูที่ดี
รูปแบบการจัดการเรียนรู้เองแนวคิดจิตปัญญาศึกษาเป็นแนวคิดของการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งจิตและปัญญาของผู้เรียนบนพื้นฐานการเรียนรู้อย่างมีความสุขและพัฒนาปัญญาอย่างมีเป้าหมาย
หลักการของจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง
ปรัชญาพื้นฐานจิตตปัญญาศึกษา
ความเชื่อมั่นในความเป็นมนุษย์
กระบวนทัศน์องค์รวม
หลักจิตตปัญญา7 หรือ 7 C's
หลักการเผชิญหน้า
หลักความต่อเนื่อง
หลักการเชื่อมโยงสัมพันธ์
หลักความมุ่งมั่น
หลักความรักความเมตตา
หลักชุมชนแห่งการเรียนรู้
หลักการพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ
สรุป
จิตตปัญญาศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญประกอบด้วยการรับรู้อย่างลึกซึ้ง การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญและการเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง การรับรู้อย่างลึกซึ้งเป็นการรับสิ่งเร้าที่ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้วยความตั้งใจและเอาใจใส่ โดยเชื่อมโยงกับปรากฏการณ์ภายนอกผ่านกิจกรรมและกระบวนการที่หลากหลายมีเป้าหมายก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานทางความคิดและจิตสำนึก
กระบวนการพัฒนาจิตตปัญญาศึกษา
การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ
การเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง
การฟังอย่างลึกซึ้ง
who am I พลวัตกลุ่มการสะท้อนความคิด สิ่งที่เปลี่ยนแปลงมีดังนี้
ได้เรียนรู้ตนเองเข้าใจตน เรียนรู้ เพื่อนเข้าใจเพื่อน
ตระหนักรู้ว่ามนุษย์สัมพันธ์เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันของสังคมมนุษย์
ได้เรียนรู้เข้าใจบุคคล วิถีชีวิต
การได้สื่อสารทำความเข้าใจอย่างเป็นกัลยาณมิตรช่วยให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพพึงพอใจทุกฝ่าย
การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาจิตตปัญญาศึกษา
เป็นการศึกษาที่ทำให้เข้าใจด้านในของตนเองรู้จักตนเองเข้าถึงความจริงทำให้เป็นมุมมองเกี่ยวกับโรคและผู้อื่นเกิดความเป็นอิสระความสุขเกิดปัญญาและความรักเป็นไพศาลต่อเพื่อนมนุษย์และสรรพสิ่ง
นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา 6220160352 กลุ่มที่ 3 เลขที่ 8