Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงิน สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน, นางสาวปัทมา แก้วผ่อง เลขที่1…
การเงิน สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
1.ปริมาณทุนสำรองเงินตรา
2.การเพิ่มลดอัตราเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์
3.การซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล
4.ผลสุทธิจากการค้าต่าประเทศ
ชนิดของเงิน
1.เงินที่เป็นสินค้า
2.เหรียญ
3.ธนบัตร
4.เงินฝากกระแสรายวัน
5.บัตรเครดิต
6.เงินอิเล็กทรอนิกส์
หน้าที่ของเงิน
1.หน้าที่อันมีสภาพนิ่ง Static Function
-เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
-เงินทำหน้าที่เป็นหน่วยวัด
-เงินทำหน้าที่เป็นหน่วยสะสมค่า
-เงินทำหน้าที่เป็นมารตฐานชำระหนี้ในอนาคต
2.หน้าที่อันมีสภาพเคลื่อนที่ Dynamic Function
คุณสมบัติของเงิน
-เป็นสิ่งที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
-เป็นสิ่งที่หายาก
-มีความคงทนถาวร
-สามารถแบ่งออกเป็นหน่วยย่อยๆได้
-มีความสะดวกสบายที่จะนำไปในที่ต่างๆ
-มีเสถียรภาพในค่า
-เป็นสิ่งที่เห็นแล้วจำได้
-เป็นสิ่งที่มีลักษณะเหมือนกัน
ผลสุทธิจากการค้าต่างประเทศ
ดุลการค้าเกินดุล
ได้รับเงินตราต่างประเทศเพิ่ม
ทุนสำรองเงินตราเพิ่ม
พิมพ์ธนบัตรได้มากขึ้น
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น
ดุลการค้าขาดดุล
ได้รับเงินตราต่างประเทศลดลง
ทุนสำรองเงินตราลดลง
พิมพ์ธนบัตรได้น้อยลง
ปริมาณเงินลดลง
การเพิ่มลดอัตราเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์
ธนาคารเพิ่มเงินสำรอง
มีการปล่อยกู้ได้น้อยลง
ปริมาณเงินน้อยลง
ธนาคารลดเงินสำรอง
มีการปล่อยกู้ได้มากขึ้น
ปริมาณเงินมากขึ้น
การซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล
รัฐบาลซื้อพันธบตร
เงินจะไหลสู่มือประชาชน
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น
รัฐบาลขายพันธบัตร
เงินจะไหลไปสู่มือรัฐบาล
ปรมาณเงินลดลง
ปริมาณทุนสำรองเงินตรา
เป็นหลักทรัพย์ที่ใช้ในการค้ำประกันการพิมพ์ธนบัตรที่ออกมาใช้ในแต่ละครั้ง
ทุนสำรองเงินตรามาก
พิมพ์ธนบัตรได้มาก
ปริมาณเงินมาก
ทุนสำรองเงินตราน้อย
พิมพ์ธนบัตรได้น้อย
ปริมาณเงินน้อย
อุปสงค์และอุปทานของเงิน
อุปสงค์ของเงิน
ปริมาณเงินทั้งหมดที่ประชาชนต้องการถือไว้ ในขณะใดขณะหนึ่ง
สาเหตุที่ประชาชนต้องการถือเงิน
-เพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน
-เพื่อเหตุจำป็น
-เพื่อเสี่ยงกำไรหรือเก็งกำไร
อุปทานของเงิน
ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
-ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ M1
-ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง M2
-ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้างมาก M3
มูลค่าของเงิน
อำนาจซื้อของเงินแต่ละหน่วยที่สามารถซื้อสินค้าและบริการได้
ประเภทของตลาดการเงินในระบบ
1.ตลาดการเงิน ตลาดที่ให้กู้ยืมระยะสั้น ใช้ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี
2.ตลาดทุน ตลาดที่ให้กู้ยืมเงินระยะยาว ใช้ระยะเวลานานมากกว่า 1 ปี
ข้อขัดแย้งระหว่างตลาดเงิน/ตลาดทุน
ความเสี่ยง
ระยะเวลา
ลักษณะการกู้ยืม
เครื่องมือการกู้ยืม
ประเภทของสถาบัน
สภาพคล่อง
ประเภทของสถาบันการเงิน
1.ธนาคารแห่งประเทศไทย
2.ธนาคารพาณิชย์
3.ธนาคารออมสิน
4.บริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
5.สถาบันการเงินเฉพาะอย่าง
ธนาคารพาณิชย์ Commercial Bank
หน้าที่เกี่ยวกับการให้บริการ
-การรับฝากและจ่ายเงิน
-การโอนเงิน
-การเรียกเก็บเงิน
-การให้เช่าหีบนิรภัย
-การบริวรรตเงินตราต่างประเทศ
หน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเงินฝาก
-จากเงินฝากของลูกค้า
-กู้จากสถาบันการเงินต่างๆ
-จากการลงทุนของผู้ถือหุ้นของธนาคาร
ธนาคารกลาง Central Bank
ธนาคารแห่งประเทศไทย
หน้าที่ของธนาคารกลาง
-เป็นผู้ออกธนบัตร/บัตรธนาคาร Bank Note
-เป็นผู้ควบคุมเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์
-เป็นนายธนาคารของรัฐบาลและเป็นตัวแทนทางการเงินของรัฐบาล
นโยบายการเงิน Monetary Policy
1.การควบคุมโดยทั่วไป General Control
2.การควบคุมเครดิตเฉพาะอย่าง Selective Control
3.วิธีการควบคุมโดยตรง Direct Control
การดำเนินนโยบายการเงิน
นโยบายการเงินแบบเข้มงวด
นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย
สถาบันการเงิน
ตลาดการเงิน Financial Market
ตลาดการเงินนอกระบบ
แหล่งการเงินที่เกิดขึ้นเองตามความจำเป็นและความต้องการของสังคม ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนมักไม่เป็นไปตามกฎหมาย
ตลาดการเงินในระบบ
แหล่งการเงินที่มีการดำเนินงานโดยสถาบันการเงินต่างๆ และดำเนินงานโดยอยู่ภายในขอบเขตของตัวบทกฎหมาย
ทฤษฎีเกี่ยวกับเงิน
1.แนวคิดทางการเงินของสำนักคลาสสิก
MV=PT
ปริมาณเงิน (M) ขึ้น - ระดับราคา (P)ลง
ปริมาณเงิน (M) ลง - ระดับราคา (P)ขึ้น
2.แนวคิดทางการเงินของเคนส์
ความปรารถนาของคนที่จะถือเงินเพื่อเก็งกำไรจะเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงข้ามกับ
อัตราดอกเบี้ย
แต่เมื่อถึงระดับที่อัตราดอกเบี้ยต่ำสุด คนจะถือเงินไว้เก็งกำไรทั้งหมด แต่ไม่มีใครจะรู้ได้ว่าอัตราอกเบี้ยจะต่ำสุดนานเท่าไร และคนจะต้องถือเงินไว้นานเท่าไร ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า
การเกิดกับดักสภาพคล่อง Liguid trap
นางสาวปัทมา แก้วผ่อง เลขที่1 รหัส1004 กลุ่มเรียน 61012.151