Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 17 ความเป็นครูจิตต-ปัญญาศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 17 ความเป็นครูจิตต-ปัญญาศึกษา
กระบวนการพัฒนาจิตตปัญญาศึกษา
การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ
การเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง
การฟังอย่างลึกซึ้ง
สรุป
จิตตปัญญาศึกษา เป็นกระบวนการเรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ ประกอบด้วยการรับรู้อย่างลึกซึ้ง การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ และการเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง
ความสำคัญของจิตตปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองและความเป็นครูที่ดี
นำพาเราไปสู่การปลดเปลื้องความจอมปลอมและความเชื่อบางอย่าง
มีความกระตือรือร้นที่อยากจะลุกขึ้นมาปรับเปลี่ยนตัวเองใหม่
เป็นกระจกสะท้อนตัวตนของเราในทุก ๆ มิติ
หลักการของจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง
หลักการเผชิญหน้า
หลักความต่อเนื่อง
หลักการเชื่อมโยงสัมพันธ์
หลักความมุ่งมั่น
หลักความรักความเมตตา
หลักชุมชนแห่งการเรียนรู้
หลักการพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ
การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาจิตตะปัญญาศึกษา
เกิดความเป็นอิสระ
ความสุข
เข้าถึงความจริงทำให้รู้เกี่ยวกับโลกและผู้อื่น
เกิดปัญญา
ทำให้เข้าใจด้านในของตนเอง รู้จักตนเอง
ความหมายของจิตตะปัญญาศึกษา
จิตตปัญญาศึกษา เป็นกระบวนการเรียนรู้จากภายใน ทำให้ได้มาซึ่งความรู้ ประสบการณ์ และกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง ให้ตระหนักเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจิตตปัญญาศึกษาที่มีต่อวิชาชีพครู
สุภาพร ชูสาย ได้วิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาพฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาทักษะชีวิต ด้วยกระบวนการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา