Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 ความเป็นพลเมือง - Coggle Diagram
บทที่8 ความเป็นพลเมือง
พลเมืองดิจิทัล:พลเมืองเเห่งศตวรรษที่21
ความหมายของความเป็นพลเมือง
สมาชิกบนโลกออนไลน์ที่ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม
ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของประเทศ
1.ประเมินผลหลักสูตรด้านความเป็นพลเมืองทุกระดับ
1.2ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา
1.3จัดให้มีกองทุนสร้างเสริมความเป็นพลเมืองของประชาชน
1.4ส่งเสริมให้เกิดการผลิต พัฒนาและประเมินครู
ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ลักษณะของความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
1.มีอิสรภาพและพึ่งตนเองได้
2.เคารพสิทธิของผู้อื่น
3.เคารพความเเตกต่าง มีทักษะในการฟัง และการยอมรับความคิดเห็นที่เเตกต่างจากตน
4.เคารพหลักความเสมอภาค เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น
5.เคารพกติกา เคารพกฎหมาย
6.รับผิดชอบต่อสังคม
ความสำคัญของการเป็นพลเมือง
3.สังคมมีความเป็นระเบียบ สงบ เรียบร้อย
4.สังคมมีความเป็นธรรม
2.เกิดความรักและความสามัคคีในหมู่คณะ
1.ทำให้สังคมและประเทศชาติมีการพัฒนาไปอย่างมั่นคง
5.สมาชิกทุกคนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และมีน้ำใจต่อกันโดยยึดหลักศีลธรรม
ความหมายของการเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ประชาชนหรือสังคมมีศักดิ์ศรีความเท่าเทียมกัน มีบทบาทในการมีส่วนร่วมทางการเมือง การปกครอง รับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสาธารณะ เเก้ไขปัญหาและสร้างความเจริญแก่ชาติ
ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของครู
ประโชน์ของการนำทักษะด้านดิจิทัลไปปรับใช้สำหรับข้าราชการ
ทำงานได้รวดเร็วลดข้อผิดพลาด
ภาคภูมิใจในผลงานที่สร้างขึ้น
แก้ไขปัญห่ที่เกิดขึ้นในการทำงานได้
ระบุทางเลือกและตัดสินใจได้
บริหารจัดการงานและเวลาได้ดีขึ้น
มีเครื่องมือในการเรียนรู้
องค์ประกอบเเละทักษะด้านดิจิทัลสำหรับครูและบุคลากรภาครัฐ
ความสามารถ
ความรู้
ประสบการณ์
คุณลักษณะ
ประโชน์ของการนำทักษะด้านดิจิทัลไปปรับใช้สำหรับส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐ
ใช้ศักยภาพในการทำงานให้มีมูลค่าสูง
กระบวนการทำงานขององค์การมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เชื่อมั่นและไว้วางใจผู้รับบริการ
ประหยัดทรัพยากร
มีความทันสมัย เปิดกว้าง และเป็นที่ยอมรับ
ทักษะด้านดิจิตอลที่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐควรได้รับการส่งเสริมและการพัฒนา
มิติที่3 ใช้ดิจิทัลเพื่อการประยุกต์และการพัฒนา
มิติที่4 ใช้ดิจิทัลเพื่อวางเเผน บริหารจัดการ เเละนำองค์กร
มิติที่2 เข้าใจนโยบายกฎหมายเเละมาตรฐาน
มิติที่5 ใช้ดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนเเปลงเเละสร้างสรรค์
มิติที่1 รู้เท่าทันเเละใช้เทคโนโลยีเป็น
องค์ประกอบของพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพ
ความฉลาดทางดิจิทัล
ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูล
ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม
ทักษะในการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี
ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตน
ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ
ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์
ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว
ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์
คุณลักษณะที่ดีของพลเมืองดิจิทัล
เป็นผู้ส่งสารและรับสารที่มีมารยาท
เคารพต่อกฎหมายเเละกฎระเบียบ
เป็นผู้ประกอบการและผู้บริโภคที่มีจริยธรรม
ใช้เทคโนโลยีเหมาะสมไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
ตระหนักถึงความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีของผู้อื่น
รู้ถึงวิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยี
ความรู้ดิจิทัล
2.ความรู้ด้านสื่อ
2.2ตรวจสอบได้ว่าคนเราตีความสื่อแตกต่างกันอย่างไร รู้ว่าอะไรคือคุณค่า และมุมมองที่ถูกเลือกใส่หรือไม่ใส่เข้ามาในการผลิตสร้างเนื้อหา
2.2ตรวจสอบได้ว่าคนเราตีความสื่อแตกต่างกันอย่างไร รู้ว่าอะไรคือคุณค่า และมุมมองที่ถูกเลือกใส่หรือไม่ใส่เข้ามาในการผลิตสร้างเนื้อหา
3.ความรู้ด้านไอซีที
3.3รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและรู้จักวิธีใช้เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
3.4เลือกใช้เทคโนโลยีได้เหมาะกับวัตถุประสงค์ เข้าใจข้อดี-ข้อเสียของเทคโนโลยีที่มีอยู่ในตลาด
3.2ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
3.5เข้าใจประเด็นทางจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้ไอซีที
3.1เข้าใจแนวคิดและการทำงานพื้นฐานของเครื่องมือดิจิทัล
4.ความรู้อื่นๆในการเป็นพลเมืองดิจิทัล
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมการใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สร้างองค์ความรู้เเละพัฒนานวัตกรรมในรูปแบบต่างๆ
การคิดเชิงวิพากษณ์และการเเก้ไขปัญหา การใช้ไอซีทีเพื่อประเมินข้อมูลได้อย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะการสื่อสารเเละการทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อการสื่อสารและทำงานร่มกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ความรู้ด้านสารสนเทศ
1.3จัดการกับข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ
1.4สามารถประยุกต์ใช้ข้อมูลได้อย่างสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ
1.2รู้เท่าทันสื่อบนโลกออนไลน์
1.5เข้าใจประเด็นทางจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและการใช้ข้อมูล
1.1ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างทันท่วงที