Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการคิดเชิงสร้างสรรค์ - Coggle Diagram
เทคนิคการคิดเชิงสร้างสรรค์
องค์ประกอบของความคิดเชิงสร้างสรรค์
1.1 ด้านทัศนคติ (attitude) และบุคลิกภาพ (personality)
มีแรงจูงใจสูงที่จะทำให้สำเร็จ
สนใจสิ่งที่สลับซับซ้อน
มีทัศนคติเชิงบวกต่อสถานการณ์
ยินดีทำงานหนัก
กล้าเผชิญความเสี่ยง
บากบั่นอุตสาหะ
มีความเชื่อมั่นและเป็นตัวของตัวเอง
อดทนต่อปัญหาที่มองไม่เห็นคำตอบ
มีอิสระในการคิดและตัดสินใจ
เรียนรู้จากประสบการณ์ความล้มเหลว
เป็นคนเปิดกว้างในการรับประสบการณ์ใหม่ ๆ
รับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
1.2 ด้านสติปัญญา
1.2.3 ความสามารถในการคัดเลือกอย่างมียุทธศาสตร์
1.2.2 ความสามารถในการใช้จินตนาการ
1.2.4 ความสามารถในการประเมินอย่างมีประสิทธิภาพ
1.2.1 ความสามารถในการกำหนดขอบเขตของปัญหา
1.3 ด้านความรู้
คนมีความรู้มักจะคิดสร้างสรรค์ได้ดีกว่าทำให้คิดงานที่มีคุณภาพเพราะมีรากฐานของความรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นรองรับ
1.4 ด้านรูปแบบการคิด
ลักษณะการคิดที่เหมาะสมต่อการคิดสร้างสรรค์
ความสมดุลระหว่างการคิดแบบมองมุมกว้าง คือ
คิดในระดับทั่วไปของปัญหา
การคิดแบบมองมุมแคบ คือ คิดแบบลงในรายละเอียดของปัญหา
1.5 ด้านแรงจูงใจ
แรงจูงใจที่กระตุ้นจากภายในมีประโยชน์ต่อความคิดสร้างสรรค์
เพราะทำให้รู้สึกสนุกกับงานและรู้สึกว่างานมีความน่าสนใจ
กระตุ้นภายในเช่น ความต้องการประสบความสำเร็จ ความต้องการสิ่งใหม่ ๆ
ความต้องการตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น
ส่วนแรงกระตุ้นจากภายนอก คือ
การที่สิ่งแวดล้อมภายนอกเป็นผู้ยื่นเสนอรางวัล เช่น เงิน การได้รับการยกย่อง
1.6 ด้านสภาพแวดล้อม
ปัจจัยแวดล้อมที่ทำให้คนในสังคมขาดความคิดสร้างสรรค์ เช่น
สังคมที่มีลักษณะเผด็จการทำให้คนในสังคมไม่กล้าคิดนอกกรอบ
ขั้นตอนและเทคนิคการคิดเชิงสร้างสรรค์
2.1 การระดมสมอง (brainstorming) เพื่อหาความคิดใหม่ที่หลากหลาย
ลำดับขั้นตอนที่สำคัญในการระดมสมอง
ขั้นที่ 3 ระดมความคิด เพื่อให้ได้ความคิดมามากที่สุด
ขั้นที่ 4 สรุปผลการระดมสมอง
ขั้นที่ 2 กำหนดหัวข้อในการระดมความคิด
ขั้นที่ 5 การติดตามผล
ขั้นที่ 1 ตั้งผู้ดำเนินการหรือผู้อำนวยความสะดวก (facilitator)
2.2 ทำของเก่าให้เป็นของใหม่ด้วยแผ่นตรวจสอบของออสบอร์น (Osborn’s checklist)
เป็นแผ่นที่มีแนวทางกระตุ้นคิดในแง่มุมต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางใหม่ ๆ ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ
2.3 ขยายขอบเขตปัญหาจากรูปธรรมสู่นามธรรม แล้วค่อยคิด
พยายามถอดกรอบโครงสร้างความคิดที่จำกัดไปสู่การจินตนาการนอกขอบเขตของเรื่องนั้นอย่างอิสระเพื่อจะได้ความคิดใหม่ ๆ
2.4 ปรับสภาพแวดล้อมและเวลาให้เหมาะสมสำหรับการคิด
เรื่องของเวลาก็มีความสำคัญต่อการคิด
จึงควรสำรวจตัวเองว่า เวลาใดความคิดจะโลดแล่นได้ดีที่สุด เช่น ช่วงเช้า ตอนกลางคืน หลังจากตื่นนอน ขณะอาบน้ำ
2.5 กลับสิ่งที่จะคิด แล้วลองคิดในมุมกลับ
เป็นการช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ๆ
ที่คิดว่าไม่น่าจะเป็นไปได้มาก่อน
2.6 จับคู่ตรงข้าม เพื่อหักมุมสู่สิ่งใหม่
เพื่อก่อให้เกิดการหักมุมความคาดหวังที่คนทั่วๆ ไปไม่คิดว่าจะเป็น กลายเป็นสิ่งสร้างสรรค์ใหม่ เช่น มิตร-ศัตรู ยาจก-เศรษฐี
2.7 คิดแหวกวงความน่าจะเป็น ย้อนกลับมาหาความเป็นไปได้
พยายามหาคำตอบที่แหวกกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้มากที่สุด
แล้วจากนั้นพยายามดัดแปลงความคิดนั้นให้ทำได้จริงในทางปฏิบัติ
2.8 หาสิ่งไม่เชื่อมโยง เป็นตัวเขี่ยความคิดสร้างสรรค์
เพื่อตอบปัญหาที่คิดอยู่ให้เห็นทางออกของปัญหาที่สร้างสรรค์ และปฏิบัติได้จริง โดยตัวเขี่ยความคิด หาได้จากเปิดหนังสือ
และเปิดพจนานุกรม
2.9 ใช้เทคนิคการสังเคราะห์ส่วนประกอบ (morphological synthesis)
ทำได้โดยการเขียนรายการของแนวคิดที่เกี่ยวกับลักษณะหรือแง่มุมหนึ่งของสิ่งที่ต้องการตอบออกมาเขียนเรียงไว้แกนหนึ่ง
(เช่น เรียงในแนวตั้ง)
แล้วเขียนรายการของแนวคิดที่เกี่ยวกับอีกลักษณะหนึ่งหรืออีกแง่มุมหนึ่งของสิ่งที่ต้องการตอบแล้วเขียนเรียงไว้อีกแกนหนึ่ง
(เช่น เรียงในแนวนอน) ผลที่ได้คือ ช่วงตัด (matrix) ระหว่างรายการของแนวคิดทั้งสอง
2.10 ใช้การเปรียบเทียบ เพื่อกระตุ้นมุมมองใหม่ ๆ
เพราะทำให้เห็นภาพชัดขึ้น
ในทางตรงกันข้าม ปัญหาที่คุ้นเคยมากเกินไป จนกลายเป็นอุปสรรคทำให้เราไม่สามารถคิดอะไรใหม่ๆ ได้
การอุปมาหรือเทียบเคียงในลักษณะที่เราไม่คุ้นเคย จะช่วยกระตุ้นให้เราคิดในมุมที่แตกต่างได้ โดยเปรียบเทียบตนเองกับสิ่งอื่น
เปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งโดยตรง