Coggle requires JavaScript to display documents.
ดื่มสุราเป็นประจำ
ผู้สูงอายุ
โรคตับ
ประวัติมีการใช้ยาละลายลิ่มเลือด
การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งมักสัมพันธ์กับอุบัติเหตุทางรถยนต์ การตกจากที่สูง การถูกทำร้ายร่างกาย การได้รับการกระแทกที่ศีรษะอย่างแรง
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ เมื่อความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้นจะพบว่า สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง คือ ความดันโลหิตสูงขึ้น โดยเฉพาะ systolic pressure ชีพจรช้าลง การหายใจไม่สม่ำเสมอ อาการที่พบ 3 อย่างนี้เรียกว่า คูชชิ่งรีเฟล็ก ( cushing’s reflex )
ระดับความรู้สึกเปลี่ยนแปลง แขนหรือขาอ่อนแรงเฉียบพลัน หมดสติไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง มีการตื่นตัวน้อยลง ซึมลง
อาการที่เกิดจากการเพิ่มความดันภายในกะโหลกศีรษะที่สำคัญมี 3 อย่าง คือ ปวดศีรษะ (headache) อาเจียน (vomiting) ตาพร่ามัว หน้าที่การทำงานของระบบประสาทเสื่อมลง การตอบสนองของรูม่านตาไม่เท่ากันหรือตอบสนองช้า พูดสื่อสารไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด มีปัญหาในการเขียนหรืออ่านหนังสือ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็กมีปัญหา เช่น มีอาการมือสั่น
2.ระยะเรื้อรัง (Chronic subdural hematoma) คือ ผู้ป่วยมักไม่ทราบระยะเวลาเกิดอาการที่ชัดเจน อาการต่างๆจะค่อยเป็นค่อยไป หรือผู้ป่วย/ ครอบครัวไม่รู้เลยว่ามีอาการผิดปกติเกิดขึ้น
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ : CBC ,BUN ,Cr , PT,PTT,INR, Electrolyte ,Aerobic culture and sentivity gram stain , CT scan for brain
- ตรวจร่างกาย : ประเมิน Neuro sign
- ซักประวัติ : ประวัติอาการผิดปกติดังกล่าวข้างต้นในหัวข้อ อาการ ประวัติ โรคประจำตัว ประวัติการใช้ยาต่างๆ
ลักษณะของผู้ป่วยที่ไม่ต้องได้รับการผ่าตัด คือ มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ มีก้อนเลือดเล็กๆ ภายใน กะโหลกศีรษะ หรือมีสมองช้ำเพียงตำแหน่งเดียว หรือมีก้อนเลือด (acute subdural hematoma) บางกว่า 10 มิลลิเมตร ออกที่ซับดูรอลอย่างเฉียบพลันก้อนเลือดภายในกะโหลกศีรษะหรือสมองที่บวมช้ำนั้น ไม่ได้ก่อให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนในสมอง หรือมีการกดเบียดบริเวณช่องน้ำไขสันหลังที่อยู่รอบแกนสมอง
ลักษณะของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัด คือ มีกะโหลกศีรษะแตกยุบแบบเปิด หรือกะโหลกศีรษะ แตกยุบแบบปิด มีการบาดเจ็บที่เนื้อสมอง มีก้อนเลือดภายในกะโหลกศีรษะหรือบริเวณที่สมองบวมช้ำ มากกว่า 40 มิลลิเมตร หรือผู้ป่วยรู้สึกตัว ทำตามสั่งได้ และหายใจได้เอง
Craniotomy
Craniectomy
Burr hole