Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thalamic Hemorrhage (ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus) - Coggle Diagram
Thalamic Hemorrhage
(ภาวะเลือดออกในสมองส่วน Thalamus)
พยาธิสภาพ
ภาวะเลือดออกในเนื้อสมองโดยไม่ได้มีสาเหตุจากการบาดเจ็บมักพบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักเป็นผลจากการฉีกขาดของหลอดเลือดเล็ก ๆ ในเนื้อสมองสาเหตุหลักคือภาวะความดันโลหิตสูง เมื่อเลือดออกกดเบียดเนื้อสมองข้างเคียงในส่วนของ Parietal lobe ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมความรู้สึก ด้านการสัมผัส การพูด การรับรส ก็จะทำงานผิดปกติโดย Parietal lobe เป็นส่วน หนึ่งของสมองส่วน Cerebrum Cerebrum มีขนาดใหญ่สุดมีรอยหยักเป็นจำนวนมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ ความสามารถทำงานๆ เป็นศูนย์การทำงานของกล้ามเนื้อ การพูด การมองเห็น การดมกลิ่น
สาเหตุ
ตามทฤษฎี
หลอดเลือดมองผิดปกติ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง AVM โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง
โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ไม่ดี
กรติดเชื้อพยาธิในสมอง มักพบในผู้ที่ชอบกินอาหารปรุงสุกๆดิบๆ
ผู้สูงอายุ
เนื้องอกสมอง
โรคที่มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด และ/หรือภาวะเกร็ดเลือดต่ำ
สาเหตุของผู้ป่วย
มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงมาประมาณ 10 ปี ไม่ได้รับการรักษา
ชนิด
ตามทฤษฎี
Non-lobar hemorrhage
intracerebral hemorrhage ที่ basal ganglia (ส่วนใหญ่เป็นที่
putamen), thalamus, cerebellum, brainstem (ส่วนใหญ่เป็นที่ pons)
Lobar hemorrhage
intracerebral hemorrhage (ICH) ที่อยู่ในตำแหน่ง cortical หรือ
subcortical ได้แก่ frontal, temporal, parietal, occipital lobes
ชนิดของผู้ป่วย
เป็นชนิดของ Non lobar hemorrhage เพราะเป็นที่พยาธิสภาพที่ส่วนของ Thalamus
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
ปากเบี้ยว หลับตาไม่สนิท
อาเจียน
ชัก
มองเห็นภาพไม่ชัด มองเห็นภาพซ้อน
พูดไม่ชัด
แขน ขาอ่อนแรง
เดินเซ
ปวดศรีษะ
อาการของผู้ป่วย
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน
แขนขาข้างซ้ายอ่อนแรง
ส่งเสียงอืออา
Lt. facial palsy
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยของผู้ป่วย
ซักประวัติ
แขน ขาซ้ายอ่อนแรงปวดศีรษะมาก คลื่นไส้อาเจียน ส่งเสียงอืออา
มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูง แต่ไม่ได้รับการรักษา
ตรวจร่างกาย
BP แรกรับ 159/101 mmHg.
Lt. facial palsy
E4VTM6 Moter power Rt. arm grade 5, Rt. leg grade 3, Lt. side grade 0
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทำ CT brain พบ Rt. basal ganglia, Rt. thalamic and Rt. periventricular hematoma.
ตามทฤษฎี
ตรวจร่างกาย
พบความดันโลหิตสูง ซึมลง ปากเบี้ยว พูดสับสน และมีอาการอ่อนแรงครึ่งซีก
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทำ CT scans ของสมองหรือ MRI/MRA จะเห็นเลือดออกในสมอง
ซักประวัติ
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ร่วมกับการอ่อนแรง ซึมลง ประวัติการใช้ยาต่างๆ และพฤติกรรมการใช้ชีวิต
การตรวจชนิดอื่นที่จำเป็น
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจรังสีทรวงอก
การตรวจเลือด ปัสสาวะ น้ำตาล สารเคมีในเลือด
การเจาะน้ำไขสันหลังในผู้ป่วยที่สงสัย subarachnoid hemorrhage
ในบางรายจะต้องฉีดสีเส้นเลือดสมองเพื่อหาตำแหน่งเลือดออก
การรักษา
การรักษาของผู้ป่วย
รักษาแบบประคับประคอง
โดยการให้สารน้ำ เกลือแร่ และยาต่างๆ (medical treatment)
ยาลดความดันโลหิต: Hydralazine, Amlodipine, Enaril, Atenolol
ไม่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
ตามทฤษฎี
รักษาแบบประคับประคอง
โดยการให้สารน้ำ เกลือแร่ และยาต่างๆ (medical treatment)
การรักษาด้วยการผ่าตัด
Craniotomy with
remove hematoma
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ เอาก้อนเลือดออก เหมาะสำหรับล้างระบายก้อนเลือดที่อยู่ริมๆสมองออก
Decompressive Craniectomy
การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ (Decompressive Craniectomy) เป็นวิธีการผ่าตัดกะโหลกศีรษะแล้วไม่ปิดชิ้นกะโหลกกลับเข้าไป เมื่อสมองของผู้ป่วยหายบวมและไม่มีอาการแทรกซ้อนอื่นๆ จึงค่อยทำการผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะ (cranioplasty) ในภายหลัง โดยใช้กะโหลกศีรษะเดิมที่แช่แข็งเก็บไว้ หรือใช้กะโหลกศีรษะเทียม
Ventriculostomy
การผ่าตัดเจาะกะโหลกศีรษะใส่สายระบายน้ำในโพรงสมอง
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากไม่สามารถขับเสมหะออกได้เอง
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากแขนขาซ้ายอ่อนแรงจากการมีเลือดออกในสมอง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากมีเลือดออกในสมอง
ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพความเจ็บป่วย