Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case 2 :CBL เด็ก, gram positive diplococcic, lancet-shaped, 3rd generation…
-
gram positive diplococcic, lancet-shaped
-
-
-
-
-
อธิบายแนวทางการวินิจฉัยโรคและแผนการ
รักษาวิเคราะห์การให้ยาที่ได้รับ แต่ละชนิดเป็นยา
อะไรกลุ่มใดออกฤทธิ์และมีการพยาบาลที่สำคัญ
อย่างไร
การวินิจฉัยโรค
- การซักประวัติ อาการมีไข้สูง ปวดศีรษะ ซึม
อาเจียน ไม่ดูดนม ร้องกวน กระสับกระส่าย ซัก
- การซักประวัติครอบครัวที่สงสัยว่าเด็กเป็นเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค เด็กอาจได้รับเชื้อจาก
คนในครอบครัว
- การตรวจร่างกายพบกระหม่อมโป่งตึง แสดงถึง
ภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูงและพบมีอาการ
ระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การเจาะเลือดตรวจ CBC พบจำนวน White blood
cell สูง
-การเจาะน้ำไขสันหลัง จะพบลักษณะน้ำไขสันหลัง
ตามลักษณะของการติดเชื้อ
-การส่งเพาะเชื้อ เพื่อหาเชื้อที่เป็นสาเหตุที่ให้เกิด
โรครตรวจหาแอนติเจนของเชื้อการตรวจโดยวิธี
PICR-Tubeculin test ถ้าให้ผลบวกวินิจฉัยโรคเยื่อ
หุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรคได้ 70-90% ในคนที่
ได้รับ corticosteroid หรือเป็นโรคที่อาจให้ผล false
negative
- การท่า CT scan หรือ MRI เพื่อแยกโรคจาก
ภาวะเนื้องอกมักพบมีน้ำคั่งในกะโหลก
•การรักษา
เยื่อหุ้มสมองอักเสบเชื้อแบคทีเรีย ให้ยาปฏิชีวนะที่
คาดว่าครอบคลุมเชื้อมากที่สุดในแต่ละช่วงและ
สามารถซึมเข้าสู่ระบบประสาทได้ดี โดยไม่ต้องรอ
ผลเพาะเชื้อ เมื่อทราบผลเพาะเชื้อ แล้วจึงเปลี่ยนยา
ให้เหมาะสมตามผลเพาะเชื้อ ในทารกแรกเกิดจะให้
ยา ampicillin หรือ PGS ร่วมกับยา cefotairme
สำหรับทารกอายุมากกว่า 1 เดือนให้ใช้ยากลุ่ม 3
generation cephalosporin คือ Cefotaxirme หรือ
ceftriaxories หากเชื้อในโรงพยาบาลมีแนวโน้ม
ดื้อยา อาจใช้ Cefotaxime ร่วมกับ Vancomycin.
-
-
-
-
-
- CT brain พบว่ามี subdural effusion หนา 3 mm ที่บริเวณ frontal lobe ทั้งสองข้าง
- กระหม่อมหน้าโป่งตึง
-
-
-
นักศึกษาอยากทราบข้อมูลใดเพิ่มเติมอีก
บ้างนอกเหนือจากข้อมูลที่ให้มา
-
- มีการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจมาก่อนหรือไม่
- มีการติดเชื้อจากอวัยวะข้างเคียง เช่น การติดเชื้อ
ที่ช่องหูชั้นกลาง ติดเชื้อบริเวณใบหน้า จมูก เป็นต้น
- การได้รับอุบัติเหตุรุนแรง ทำให้กะโหลกศีรษะ
แตก บอกถึงการได้รับเชื้อโดยตรงจากการปนเปื้อน
-
-
•ซักประวัติเกี่ยวกับครอบครัวในเด็กที่สงสัยว่าเป็น
เยื้อหุ้มสมองอักเสบจากวัณโรคเพราะเด็กอาจได้รับ
เชื้อจากคนในครอบครัว
•ซักประวัติการได้รับวัคซีนเสริมเช่นวัตซีนเสริม
ป้องกัน pneumococcus ซึ่งก่อให้เกิดโรคเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบและเป็นสาเหตุของโรคปอดอักเสบและ
ติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรง
-
-กิจกรรมทรพยาบาล
- ติดตาม I/O อย่างใกล้ชิด
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ค่า
BUN / Serum creatinine (Scr) 2 ครั้ง / สัปดาห์
- ติดตามการ Red man syndrome
-สาเหตุ: เกิดขึ้นได้เมื่อได้รับยาในอัตราเร็วเกินไป-
อาการ: 1. ใจสั่นหายใจลำบากอาจมี hypotension
มีผื่นแบน 2. MP Fash บริเวณหน้าอก ศอ หลัง แขน
มักเกิดหลังให้ยา 15-45 นาทีอาการมักหายไปหลัง
หยุดยา 10-60 นาทีป้องกัน: ลดอัตราเร็วของการให้
ยา (1.5-2 ชั่วโมง) และเพิ่มปริมาตรสารละสาย
-กิจกรรมการพยาบาล
- การประเมินหลังการให้ยาการรั่วหรือซึมจากการ
ให้ยาทางหลอดเลือดดำอาการปวดบวมแดงแสบ
ร้อนเป็นแผลหรือสังเกตว่ายาเกิดการรั่วหรือซึมออก
จากบริเวณที่ฉีดยาหรือมีอาการท้องเสีย
- สังเกตอาการข้างเคียงหลังจากการให้ยากลุ่ม
cephalosporin เช่นอาการคลื่นไส้ท้องเสียปวด
ศีรษะและอาจมีเอนไซม์ในตับเพิ่มขึ้นได้
-อาการที่บ่งถึงปัญหาของตับ เช่น ปัสสาวะมีสีเข้ม
อุจจาระมีสีซีด เบื่ออาหาร ปวดท้องข้าง ขวาตาและ
ผิวมีสีเหลือง เป็นต้น
- ควรใช้ยานี้ระมัดระวังในผู้ป่วยที่มีโรคทางเดิน
อาหารหรือการทำงานของตับที่ผิดปกติ
- ควรให้ยาติดต่อไปอย่างน้อย 2-3 วัน หลังจาก
ไม่มีอาการหรือไม่พบเชื้อแล้ว
กิจกรรมการพยาบาล
- การให้ diazepam ทางทวารหนักในเด็กต่อกับ
สายสวนทางทวารหนักสอดลึกประมาณ 2 นิ้วต้อง
ยกก้นและหนีบรูทวารผู้ป่วยประมาณ 2 นาทีเพื่อไม่
ให้ยาไหลออก
- ประเมินระดับความรู้สึกตัวอย่างต่อเนื่อง
เนื่องจากยามีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง