Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Closed Fracture Both Bone Right leg with Closed Fracture 1 st toe Left,…
Closed Fracture Both Bone Right leg
with
Closed Fracture 1 st toe Left
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 76 ปี อาชีพ นักบวช
วินิจฉัยโรค Closed Fracture Both Bone Right leg = กระดูกหักแบบปิดที่ปลายขาทั้งสองชิ้นข้างขวา
Closed Fracture 1 st toe Left = กระดูกแบบปิดที่นิ่วเท้าที่ 1 ด้านซ้าย
อาการสำคัญ = ประสบอุบัติเหตุรถชน ปวดขาทั้ง 2 ข้าง 15 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน = 15 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล นั่งรถตู้โดยสารข้างคนขับ ถูกรถชนท้าย
(ไม่ทราบชนิด) รถไหลไปชนกับรถพ่วงข้างหน้า ขาขวาถูกชิ้นส่วนรถทับผิดรูปและมีแผลที่นิ้วนางข้างซ้าย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต = ปฎิเสธการเจ็บป่วยในอดีต
การวางแผนทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนัง
O = บริเวณแผลผ่าตัดมีอาการบวม แดง
O = มีแผลผ่าตัดบริเวณขาข้างขวาเป็นการผ่าตัดแบบ ORIF
O = WCE 12,170 cells/cumn
O = Neutrophil 80 %
O = Lymphocyte 11 %
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการติดเชื้อ
ทำแผลโดยใช้หลัก aseptic technique
ดูแลให้รับยา Ceftriaxone 2 g และ Clindamycin 600 mg
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ภาวะแรงดันในช่อง
กล้ามเนื้อเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการใส่เครื่องตรึงภายในโลหะ
O = ผู้ป่วยขยับนิ้วเท้าด้านขวาได้เล็ดน้อย
O = ผู้ป่วยใส่เครื่องตรึงภายในแบบ Screw และ Plate
O = บริเวณขาขวาบวมเล็กน้อย
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่ายกขาสูงกว่าระดับหัวใจ
กระตุ้นการทำกิจกรรมบนเตียง
ประเมินภาวะ Compartment syndrome เพื่อป้องกันการขาดเลือดไปเลี้ยง
ประเมินภาวะ Compartment syndrome (6P)
Pain อาการปวด
Pallor อาการซีดและเย็น
Pulselessness คลำชีพจรไม่ได้
Paresthesia อาการชา
Paralysis อัมพาต
Puffiness อาการบวม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3
มีโอกาสเกิดการเลื่อนหลุดจากการใส่วัสดุเข้าดามกระดูกภายใน
เนื่องจากขาดความรู้ในการปฎิบัติตัวที่ถูกต้อง
S = ผู้ป่วยถามว่าเวลาออกจากโรงพยาบาลสามารถเคลื่อนไหวแบบไหนได้บ้าง
S ปวดแผลข้างขวา pain score เท่ากับ 7 คะแนนO = แผลด้านขวามีการบวมเล็กน้อย
O = รับการผ่าตัด ORIF ใส่ทั้งScrew และ Plate
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินรูปร่างของอวัยวะที่ถูกดามด้วยโลหะภายในว่าอยู่ในแนวปกติหรือไม่
จัด Position ขออวัยวะที่ถูดดาม
การเคลื่อนไหว
เมื่อมีการ ambulate
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4
พร่องการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL)
เนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
S = ผู้ป่วยบอกว่าขยับแล้วปวดขาขวามากกว่าขาซ้าย
S = ประเมินความปวด pain score เท่ากับ 7 คะแนน
O = ADL เท่ากับ 7 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวชองขาทั้ง 2 ข้าง
ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ดูแลทำความสะอาดด้านอนามัยส่วนบุคคล
ดูแลเรื่องการรับประทานอาหาร น้ำและการนอนหลับพักผ่อน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 5
ไม่ได้รับความสุขสบายจากการเจ็บปวด
เนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับการบาดเจ็บ
S = ประเมินความปวด pain score เท่ากับ 7 คะแนน
S = ผู้ป่วยบอกว่าเจ็บเมื่อขยับขาขวา
O = เมื่อขยับขาข้างขวาผู้ป่วยกระตุกและสีหน้านิ่วคิ้วขมวด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความปวดโดยใช่แบบประเมิน numeric rating scale (NRS)
ประเมินอาการที่แสดงถีงความเจ็บปวด เช่น สีหน้า การพูด สีหน้า
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียงอย่างถูกต้อง
การตรวจการพัน elastic bandage ที่แผลผ่าตัดว่าแน่นหรือหลวม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 6
วิตกกังวล เนื่องจากขาดความรู้ในโรคที่เป็น
S = ผู้ป่วยถามว่าจะกลับไปเดินป่าได้ไหม
S = ผู้ป่วยบอกว่ากลัวเดินไม่ได้
O = ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวล
O = ผู้ป่วยคอยถามพี่พยาบาลอยู่ตลอดว่าจะเดินได้ไหม
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้ของผู้ป่วยในเรื่องของโรคที่เป็นอยู่
ให้ความรู้เรื่องการปฎิบัติตัวหลังจากกระดูกขาหักทั้ง 2 ข้าง
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามเกี่ยวกับโรคในเรื่องที่ไม่เข้าใจ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกที่ไม่สบายใจ
ให้กำลังใจผู้ป่วยและคอยช่วยเหลือ
พยาธิสภาพของโรค
เมื่อเกิดกระดูกหักจะมีการบาดเจ็บฉีกขาดของเยื้อหุ้มกระดูก เนื้อเยื่อ และหลอดเลือดที่อยู่รอบๆ ทำให้มีเลือดคั่งอยู่ใน
เยื่อหุ่มกระดูกผู้ป่วยที่มีกระดูกหักแบบปิดบริเวณกระดูกหัก
แบบปิดบริเวณกระดูกจะมีลักษณะเฉพาะ
การบวมที่เนื้อเยื่อที่อยู่รอบๆ เกิดการบาดเจ็บมีรอยฟกช้ำ เกิดการหดเกร็งจึงทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวด
ปวดแผลข้างขวา pain score เท่ากับ 7 คะแนน
มีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อตามแนวกระดูกจะทำให้อวัยวะที่หักนั้นมี
ความยาวสั้นลง ขณะเดียวกันการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นส่งผลต่อการ
ทำงานของเส้นประสาท เอ้น กล้ามเนื้อ ข้อต่อที่อยู่รอบๆตำแหน่งของกระดูกที่หักจะมีการผิดรูป โก่งคดงอ หากมีการเคลื่อนของปลาย
ชิ้นกระดูกหักมีการขัดสีกันจะได้ยินเสียง Crepitus
อาการและอาการแสดง
ปวดบวมบริเวณที่หัก
การทำหน้าที่ลดลงหรือนำหน้าที่ไม่ได้เลย
ไม่สามารถลงนำ้หนักตำแหน่งที่หักได้เลย
ปวดแผลข้างขวา pain score เท่ากับ 7 คะแนน
กระดูกหักแบบปิดที่ปลายประสาท
ภาวะแทรกซ้อน
การเสียเลือด (Hypovolemic shock)
การบาดเจ็บของเส้นประสาทและหลอดเลือด
ภาวะอุดตันหลอดเลือดที่ปอด
กลุ่มอาการลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำ
ภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง
ภาวะการเสียหายของกระดูก และเนื้อเยื่อ
มีโอกาสเกิดการเลื่อนหลุดจากการใส่วัสดุเข้าดามกระดูกภายใน
เนื่องจากขาดความรู้ในการปฎิบัติตัวที่ถูกต้อง
ความหมายของโรค
ภาวะที่กระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป ส่งผลให้กระดูกไม่สามารถรองรับน ้าหนักจากแรงดังกล่าวได้และเกิดหัก ก่อให้เกิดอาการปวดเสื่อมสมรรถภาพในการท้างาน รวมทั งมีเลือดออกและได้รับบาดเจ็บบริเวณรอบกระดูกที่ได้รับแรงกระแทก
กระดูกหักชนิดไม่มีแผล (Closed Fracture)
คือ กระดูกหัก แต่ผิวหนังไม่ได้รับบาดเจ็บใด ๆ
กระดูกหักแบบแผลเปิด (Open หรือ Compound Fracture) คือ กระดูกที่ทิ่มผิวหนังออกมา
หรือได้รับบาดเจ็บจนผิวหนังเปิด ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้สูง
การรักษา
การวินิจฉัย เพื่อหาความผิดปกติที่เกิดขึ้น การซักประวัติ ตรวจร่างกาย และการตรวจพิเศษ ได้แก่ การถ่ายภาพรังสี
การจัดกระดูกหักเข้าที่ (reduction)
2.1 วิธีไม่ผ่าตัด (Closed reduction) โดยการ
ดึง ดัด กด ในตำแหน่งที่มีการหักของกระดูกและ
มีการเคลื่อนออกจากแนวของร่างกายด้วยมือ
2.2 วิธีการผ่าตัด (Open reduction) ผู้ที่มีกระดูกหัก
ไม่สามารถจัดให้เข้าที่ด้วยวิธีการผ่าตัดได้ ต้องทำการ
ผ่าตัดเปิดเข้าไปในตำแหน่งกระดูกหักเพื่อจัดกระดูก
ได้รับการผ่าตัด ORIF c P&S Right leg
การให้กระดูกที่จัดเข้าที่อยู่นิ่ง (Retention)
เพื่อให้กระดูกที่จัดเข้าที่แล้วอยู่นิ่ง
ใส่ Screw, Plate เพื่อช่วยในการจัดให้กระดูกเข้าที่และอยู่นิ่ง
การฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation) เพื่อให้อวัยวะที่บาดเจ็บคงเดิมหรือใกล้เคียงปกติ เพื่อป้องกันความพิการ ในระยะการบาดเจ็บได้