Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
บทที่ 9
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน
อาการของโรคเบาหวาน
ปัสสาวะบ่อยและมาก ปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อย
หิวบ่อย กินจุ แตน้ำหนักลด อ่อนเพลีย
คอแห้ง กระหายน้ำ ดื่มน้ำมาก
แผลหายอยาก มีการติดเชิ้อตามผิวหนังติดเชื้อบ่อย
คันตามผิวหนัง มีการติดเชื้อรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณช่องคลอดของผู้ป่วยเพศหญิง
ตาพร่ามัว
ชาตามปลายมือปลายเท้า
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน
น้ำหนักเกิน
กรรมพันธ์ุ
เครียดเรื้อรัง
อื่นๆ เช่นจากเชื้อโรค หรือ ยาบางชนิด
ผู้ที่ควรตรวจหาโรคเบาหวาน
ผู้ที่มีอาการของโรคเบาหวานข้างต้น
อายุมากกว่า40ปี
มีญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวาน
เคยเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
คลอดบุตรหนักกว่า4 กิโลกรัม
มีความดันโลหิตสูง
มีไขมันในเลือดผิดปกติ
มีโรคหลอดเลือดตีบแข็ง
มีโรคที่บ่งบอกว่ามีภาวะดื้อต่ออิซูลิน
ประเภทของเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่1
พบในคนอายุ<30 ปี
เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
มีรูปร่างผอม อาจเกิดอาการขาดสติจากน้ำตาลในเลือดสูง
รักษาต้องใช้ยาฉีดอินซูลิน
เบาหวานชนิดที่2
พบในคนอายุ<40 ปี
เกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน และมีการหลั่งของอิซูลินลดลง
มีรูปร่างอ้วน และมีประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว
สามารถรักษาได้ด้วยการควบคุมอาหารหรือยาเม็ดลดระดับน้ำตาล
เบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ
สาเหตุทางกรรมพันธุ์
โรคของตับอ่อน
ฮอร์โมนผิดปกติ
จายาบางชนิด เช่น ยาสเตียรอยด์
เบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์
ตรวจพบขณะตั้งครรภ์ โดยไม่มีประวัติเป็นโรคเบาหวานมาก่อน
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนขณะตั้งครรภ์
การรักษามักใช้อิซูนลิน
หลังคลอดเบาหวานมักจะหายไปเอง
การป้องกัน
งดอาการพวกแป้ง ไขมัน น้ำตาล เน้นผัก
ออกกำลังกายอย่างน้อย30นาทีต่อวัน
ไม่อ้วน ไม่เครียด
งดบุหรี่ แอลกอฮอล์
ติดตามความดันโลหิตอย่างน้อยปีละ2ครั้ง
35ปีขึ้นไป ควรรับการคัดกรองเบาหวาน
การดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน
ควบคุมอาหาร น้ำหนัก
ออกกำลังการพอสมควรและต่อเนื่อง
พักผ่อนให้เพียงพอ
รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
ดูแลเท้าให้สะอาดอยู่เสมอ
มีลูกอมติดตัว
มีแผลหายช้าควรปรึกษาแพทย์
ยาเบาหวาน ( Antidiabetic drugs )
1.ยาที่กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน
1.1 Sulfonylureas ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
1.2 Non-sulfonylurea insulin secretagogues ข้อเสีย คือ ต้องบริหารยาวันละหลายครั้ง ยาราคาแพง
ยาที่ลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
2.1 Metformin ผลข้างเคียง คลื่นไส้ ท้องเสีย เบื่ออาหาร ลิ้นไม่รับรส Lactic acidosis
2.2 Thiazolidinediones ผลข้างเคียง น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น อาการบวม
ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์
Dipeptidyl Peptidase (DPP) IV inhibitors
ชนิดของอินซูลิน
Rapid acting insulin
Short acting Insulin
Intermediate-acting insulin
Long acting insulin
Premixed insulin
การเก็บรักษาอินซูลิน
อินซูลินที่เก็บไว้ใช้นานๆ ควรเก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 2 – 8 องศา
อินซูลินที่เปิดฝาแล้วส้าหรับใช้ฉีดทุกวัน
เมื่อต้องเดินทางไกล ไม่จ้าเป็นต้องแช่ขวดอินซูลินในกระติกน ้าแข็ง เพียงระวัง
ไม่ให้ถูกแสงแดด
ก่อนใช้ควรตรวจสอบป้ายแสดง วัน เวลา ยาหมดอายุข้างขวด
โรคทางต่อมไทรอยด์
1.กลุ่มที่เกิดจากความผิดปกติของการท้างานของต่อมไทรอยด์
Hyperthyroidism ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
เกิดจากฮอร์โมนไทรอยด์สูงในกระแสเลือด อาการแสดง ได้แก่ ใจสั่น มือสั่น เหนื่อย
ง่าย ทานมากแต่น้ำหนักลด ขี้หงุดหงิด เหงื่อออกมาก
ผลการตรวจ ระดับฮอร์โมนไทรอยด์ T3 และ หรือ FT4 สูง และค่า TSH ต่ำ
Antithyroid Drugs
MMI ความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่า เนื่องจากสามารถรับประทานวันละ
ครั้ง
ในผู้ป่วยตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร แนะน้าให้ใช้ PTU
Beta adrenergic blockers
Propranolol
อาการแสดงของโรคได้อย่างรวดเร็ว เช่น อาการใจสั่น มือสั่น
หัวใจเต้นเร็ว และวิตกกังวล
Hypothyroidism ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่่า
ยารักษา Hypothyroid
Levothyroxin ผลข้างเคียง น ้าหนักลด ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย นอนไม่หลับ
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง
(Hyperparathyroidism )
อาการของฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง
• คลื่นไส้และอาเจียน
• เซื่องซึม
• มีภาวะขาดน้ำ ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการ เช่น กระหายน้ำ ปัสสาวะน้อยกว่าปกติและมีสีเข้ม
วิงเวียน อ่อนเพลีย ผิวแห้ง ตาแห้ง ปากแห้ง
• มีอาการสับสน
• กล้ามเนื้อกระตุก
• ปวดกระดูกและข้อต่อ
• หัวใจเต้นผิดปกติ
• ความดันโลหิตสูง
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธ์สตรี
วิธีการคุมก่าเนิด
ยาคุมก่าเนิดชนิดฮอร์โมนรวม
2.ยาคุมกำเนิดชนิดที่มีแต่โปรเจสโตรเจน
หากลืมกินยคุมกำเนิด
หากลืมกิน1 เม็ด ให้กินเม็ดที่ลืมทันที
หากลืมกินยา2 เม็ด ให้กิน2 เม็ดที่ลืม
ลืมกิน3 เม็ด ให้รอรอบเดือนมาแล้วค่อยกิน
ลืมกินยาในช่วงท้ายๆ จะไม่มีผลมาก
เลือกยาคุมกำเนิดให้เหมาะสมกับตัวเอง
Estrogenic รอบเดือนออกมากแต่ระยะรอบเดือนสั้น อ้วน ไม่มีขน ต้องกินยาคุมที่มี Pergestogan มาก
รอบเดือนมาสม่ำเสมอ ออกไม่มากน้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปกติ
Progestogenic รอบเดือนออกน้อยแต่ระยะรอบเดือนยาว รูปร่างออกไปทางผู้ชาย เต้าเล็ก มีขนตามตัวมาก ต้องกินยาคุมที่มี estrogen
ยาคุมฉุกเฉิน
การออกฤทธิ์ของยาคุมฉุกเฉิน
ยับยั้งไข่ตก
เปลี่ยนแปลงสภาพเยื่อบุโพรงมดลูกให้ไม่เหมาะสมต่อการฝังตัวของไข่
ผลของการกินยาคุมฉุกเฉิน
เปลี่ยนแปลงสภาพของมดลูกที่ปากมดลูกให้เป็นด่าง
เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของท่อนำไข่
อาการข้างเคียงของยาคุมฉุกเฉิน
การเคลื่อไส้อาเจียน เกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจน
หากมีเลือดออกกระปริบกระปรอย
น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ให้ใช้ยาคุมที่มีปริมาณเอสโตรเจนต่ำกว่าเดิม
ความดันโลหิตมีปริมาณสูงขึ้น
หน้าเป็นฝ้า
มีอาการปวดศีรษะ
เกิดอาการซึมเศร้า
อาการข้างเคียงที่ควรหยุดยาคุม
ปวดหัวมาก และรุนแรง
ปวดท้องรุนแรง
ตาพร่า ตามัว เห็นภาพผิดปกติ
เจ็บหน้าอกมาก
ปวดน่องอย่างรุนแรง
อาการตาเหลือง
รอบเดือนขาดนาน3เดือนติดต่อกัน
ความดันโลหิตสูง
โรคภูมิแพ้เกิดอาการกำเริบ
วิธีใช้ชุดตรวจการตั้งครรภ์
ชุดการตรวจการตั้งครรภ์ชนิดจุ่ม
ตวงปัสสาวะลงในถ้วยตวง
นำแผ่นทดสอบการตั้งครรภ์ ด้านท่มีลูกศรชี้ลงจุ่มลงในน้ำปัสสาวะ
วางให้อยู่ในแนวนอนในที่แห้ง
ชุดตรวจการตั้งงครรภ์ชนิดตลับ
ตวงปัสสาวะลงในถ้วยตวง
หยดลงบนตลับทดสอบ การตั้งครรภ์
รอผล1-5นาที
ชุดตรวจการตั้งครรภภ์ชนิดปัสสาวะผ่าน
ให้หัวลูกศรชี้ลง ในแนวนอน ปัสสาวะผ่านบริเวณดูดซับน้ำ
รอผล1-5นาที
ยาฉีดคุมกำเนิด
DMPA เป็นวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง และสะดวก
สำหรับสตรี
ยาเลื่อนประจำเดือน
ในขณะที่รับประทานยาจึงทำให้ไม่มีรอบเดือน และทำให้มดลูกหนาตัวขึ้น เมื่อไข่ไม่ได้ รับการผสม และหยุด รับประทานยา
การใช้ยาเลื่อนประจำเดือนในกรณีต่างๆ
การใช้ยาเลื่อนประจำเดือน
การใช้ยาเลื่อนประจำเดือนเพื่อป้องกันการต้องครรภ์
แบบที่รับประทานยารอบละ 21 วัน หยุด 7วัน มีเลือดประจำเดือนออกเป็นรอบ
Cyclo- progynova
2.แบบที่รับประทานยารอบละ 28 วัน มีเลือดประจำเดือน
ออกเป็นรอบ
3.แบบที่รับประทานยาฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนคู่กันทุกวันกวน ไม่มีเลือดประจำเดือน
Tibolone
progynova
Androcur
วัยทอง
อาการของวัยทอง
ประจำเดือนมาน้อยวันและไม่สม่ำเสมอ
ผิวหนังจะบางลง แห้งและเกิดเป็นแผลได้ง่าย
เส้นผมจะหยาบแห้งและบางลง