Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 17 ความเป็นครู จิตตปัญญาศึกษา, บทที่ 17 ความเป็นครู-จิตตปัญญาศึกษา …
บทที่ 17 ความเป็นครู
จิตตปัญญาศึกษา
บทนำ
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความรู้คู่คุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จึงมาการนำจิตตปัญญามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
บทสรุป
จิตตปัญญาศึกษา (Comtemplative education) เป็นกระบวนการเรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ ประกอบด้วย
การรับรู้อย่างลึกซึ้ง
การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ
การเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง
การรับรู้อย่างลึกซึ้ง
การนำกระบวนการจิตตปัญญาศึกษาบูรณาการในรายวิชา
สมุดบันทึกความดี-ความชั่ว
การเรียนรู้ภายในตนเอง
ความหมายของจิตตปัญญาศึกษา
จิตตปัญญาศึกษา เป็นกระบวนการเรียนรู้จากภายในทำให้ได้มาซึ่งความรู้ ประสบการณ์ และกระบวนการ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง ให้ตระหนักเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ เรียนรู้ที่จะรัก เรียนรู้ในการเข้าถึงความจริง เรียนรู้ที่จะยอมรับความหลากหลายทางความคิดมากขึ้น นำไปสู่ความตั้งใจที่จะทำประโยชน์เพื่อผู้อื่น ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณลักษณะภายในที่ถาวรของผู้เรียน
กระบวนการพัฒนาจิตตปัญญา
จิตปัญญาศึกษามีกระบวนการได้มาซึ่งความรู้ 3 ลักษณะ
การฟังอย่างลึกซึ้ง
การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ
การเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง
กระบวนการพัฒนาปัญญาภายในบุคคล
วิธีที่ 1 ปัญญาเกิดจากการสดับเล่าเรียนหรือถ่ายทอดต่อกันมา
วิธีที่ 2 ปัญญาเกิดจากการคิดการพิจารณาหาเหตุผลด้วยตนเอง
วิธีที่ 3 ปัญญเกิดจากการลงมือปฏิบัติฝึกหัดอบรม
หลักการของจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง
ปรัชญาพื้นฐานของจิตตปัญญาศึกษา 2 ประการ
ความเชื่อมั่นในความเป็นมนุษย์
กระบวนทัศน์องค์รวม
การนำองค์ความรู้จิตตศึกษาไปประยุกต์ใช้
ความเข้าใจปรัชญา
หลักการพื้นฐานของการจัดกระบวนการอบรมแนวจิตตปัญญาศึกษา
ความเชื่อมั่นในความเป็นมนุษย์
กระบวนทัศน์แบบองค์รวม
หลักจิตตปัญญาศึกษา 7
จุดประสงค์ของการศึกษา
การเปลี่ยนผู้เรียนจากผู้ไม่รู้เป็นผู้รู้ เมื่อได้เรียนรู้แล้วสามารถนำไปประยุกต์และปฏิบัติได้ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากการมีวิธีคิดเพื่อสร้างจิตสำนึกที่เปลี่ยนแปลงไปจากตอนที่ยังไม่รู้และเกิดพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
หลักจิตตปัญญา 7
หลักความรักความเมตตา
หลักการเชื่อมโยงสัมพันธ์
หลักการเผชิญหน้า
หลักความต่อเนื่อง
หลักความมุ่งมั่น
หลักการพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ
7.หลักชุมชนแห่งการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาจิตตปัญญาศึกษา
เน้นประสบการณ์ตรงภายในให้ความสำคัญกับการตระหนักรู้โลกด้านในของตนเองที่สัมพันธ์กับโลกภายนอก กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินแบบจิตตปัญญาศึกษาจะอยู่บนรากฐานของการเป็นกัลยาณมิตร ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน และระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกัน
เมื่อสอนให้ผู้เรียนค้นพบ เมื่อนั้นไม่ว่าจะเป็นความกลัว ความวิตกกังวล หรือความต้องการความรัก ความเอาใจใส่ ความต้องการให้ผู้อื่นยอมรับ มันจะสลายดับสิ้นไปทันทีหรือมันจะไม่มีอิทธิพลใดๆต่อจิตใจและการกระทำ
ความสำคัญของจิตตปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองต่อความเป็นครูที่ดี
รูปแบบการจัดการเรียนรู้อิงแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา เป็นแนวคิดของการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งจิตและปัญญาของผู้เรียนบนพื้นฐานการเรียนรุ้อย่างมีความสุขและพัฒนาปัญญาอย่างมีเป้าหมาย
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจิตตปัญญาศึกษาที่มีต่อวิชาชีพครู
สุภาพร ชูสาย (2556)
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาพฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาทักษะชัวิต ด้วยกระบวนการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญา
พบว่า ทำให้นักศคกษาสามารถเข้าถึงอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความเชื่อที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับปรากฏการณ์ภายนอกผ่านกิจกรรมและกระบวนการเกิดการย้อนกลับมองดูตนเอง เดิกการเปลี่ยนแปลงความคิดและแนวปฏิบัติใหม่ต่อตนเองและผู้อื่น
พลวัต วุฒิประจักษ์ และมาเรียม นิลพันธ์ุ (2554)
การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาจิตตปัญญาศึกษาสำหรับนักศึกษาครู
พบว่า ผู้เรียนมีความเมตตากรุณาต่อผู้เรียนเปลี่ยนไปทำให้มีการทำงานเพื่อสาธารณะประโยชน์เปลี่ยนแปลงด้วย
การวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาจิตตปัญญาศึกษาสำหรับนักศึกษาครูเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา ดังนี้
การสอนตามแนวจิตตปัญญาศึกษา ผู้สอนจำเป็นต้องมีประสบการณ์
หลักสูตรรายวิชาจิตตปัญญาศึกษาช่วยให้นักศึกษาครูมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
https://www.youtube.com/watch?v=cBYatDhyNS0
https://www.youtube.com/watch?v=kXPCiUNKiGk
https://www.youtube.com/watch?v=yti7nMsXSus
บทที่ 17 ความเป็นครู-จิตตปัญญาศึกษา
นางธนิดา วงศ์สัมพันธ์ 6220160339 เลขที่ 1