Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 จริยธรรมและการจดสิทธิบัตรนวัตกรรมทางการพยาบาล - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4 จริยธรรมและการจดสิทธิบัตรนวัตกรรมทางการพยาบาล
จริยธรรมกับการสร้าง
การจดสิทธิบัตร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย
ระยะ 20 ปี
4.0 อุตสาหกรรม ที่สร้างมูลค่าด้วยนวัตกรรม
Prosperity
Security
Sustainbility
การจัดการข้อมูล
(DATA CLEAN-UP AND GROUPING)
สร้างคำค้นหา Query
Data
แบ่งกลุ่มเทคโนโลยี
วิเคราะห์และแสดงผล
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน
(SUPPLY CHAIN)
กลาง
ระบบไฟฟ้า ระบบการดำเนินการของ รพ.
การติดตามผู้ป่วยแบบทันกาล
รพ PT ญาติ
ปลาย
สถานพักฟื้น/บ้านพักผู้ป่วย
เทคโนโลยี IoT ในการดูแลและติดตามอาการหลังการรักษา
ต้นน้ำ
โรงงานผลิตยา
เวชภัณฑ์
และเครื่องมือ
การบริหารจัดการภายในองค์กร เช่น เทคโนโลยี IoT
เทคโนโลยีในการควบคุมมาตรฐานคุณภาพโรงงาน หรือ
สายพานการผลิตสินค้า
โปรไฟล์นวัตกรรม
ของแต่ละกลุ่มเทคโนโลยี
ผลักดันให้ประเทศไทยเป็น
Medical Hub ของอาเซียนภายในปี ค.ศ. 2025
ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ
เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัย เทคโนโลยีที่โดดเด่นและได้รับความสนใจอย่างมากในอุตสาหกรรมการแพทย์
ประเภทผู้ขอถือสิทธิ
การยื่นจดสิทธิบัตรของภาคเอกชน คิดรวมเป็น 95.19%
จากจำนวนสิทธิบัตรทั้งหมด
การผลักดันภาคเอกชนเป็นสิ่งสำคัญ
ในการผลักดันให้เกิดนวัตกรรมทางการแพทย์
ระบบทางการแพทย์เป็นกลุ่มเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนหรือ การจัดการข้อมูลการได้รับจดสิทธิบัตรในกลุ่มระบบทางการแพทย์ค่อนข้างยาก
เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยเป็นกลุ่มเทคโนโลยีที่ผู้เล่นหลักทั้ง 7 รายให้ความสนใจมากที่สุด เมื่อเทียบกับกลุ่มเทคโนโลยีอื่น
ผู้เล่นส่วนใหญ่สร้างสรรค์งานประดิษฐ์ที่ขับเคลื่อนด้วย TECH.SPECIALISATION ที่มุ่งเน้นไปที่งานประดิษฐ์ที่มีความเฉพาะในเทคโนโลยีใดเทคโนโลยีหนึ่ง
แนวโน้มการพัฒนาของผู้เล่นหลักในอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
ประเทศที่มีการยื่นจดสิทธิบัตรจากผู้เล่นหลักสูง ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น,
สหรัฐอเมริกา และในกลุ่มยุโรป โดยเฉพาะประเทศเยอรมนี
แนวทางการยื่นจดสิทธิบัตรของผู้เล่นหลักซึ่งสอดคล้องกับขนาดของตลาดในด้านอุปกรณ์การแพทย์
อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วย, ทันตกรรมและช่องปาก และเทคโนโลยีการฆ่าเชื้อ
และลดการติดเชื้อนั้นได้รับความสนใจจากผู้เล่นหลักน้อยมาก
เทคโนโลยีด้านการตรวจวินิจฉัย และเทคโนโลยีด้านการผ่าตัดนั้น ยังเป็น
กลุ่มเทคโนโลยีสำคัญ ที่ผู้เล่นหลักจานวนมากให้ความสนใจ
การขยายเทคโนโลยีและนวัตกรรมในต่างประเทศก็ต้องให้ความสนใจในด้านสิทธิบัตรเนื่องจากมีสิทธิบัตรจานวนมากที่ยังมีผลคุ้มครองทางกฎหมายอยู่
จุดแข็ง-จุดอ่อนไทย
แต่มีโอกาสในการพัฒนาเทคโนโลยีการแพทย์ใช้ภายในประเทศ เนื่องจากจำนวนสิทธิบัตรยังไม่มากนัก
มีเทคโนโลยีในแต่ละกลุ่มภายใต้อุตสาหกรรมทางการแพทย์นั้นน้อยมาก
มีสัดส่วนของเทคโนโลยีด้านการฆ่าเชื้อ และลดการติดเชื้อมากเป็นอันดับหนึ่ง แต่ความสนใจของผู้เล่นหลักในด้านดังกล่าวกลับลดลง หรือแนวโน้มคงที่แล้ว
เทคโนโลยีที่น่าสนใจสำหรับผู้ประกอบการไทย ได้แก่ ระบบทางการแพทย์ และการแพทย์สำหรับผู้สูงอายุ
การค้นหาเทคโนโลยีที่มี
ศักยภาพ
การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันแนวทางหนึ่ง
เป็นการนำสิทธิบัตรที่ไม่มีผลการคุ้มครองแล้วนำมาศึกษาหรือพัฒนาต่อยอด
ไทย งานประดิษฐ์ในกลุ่มเทคโนโลยีด้านระบบทางการแพทย์ เป็นกลุ่มที่น่าสนใจสำหรับผู้ประดิษฐ์ไทย
ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
องค์กรต่างมีการพัฒนาและมีการปรับตัวต่อแนวโน้มทางเทคโนโลยี
ไทย มีจำนวนสิทธิบัตรด้านการแพทย์อยู่น้อยมาก อาจเสียเปรียบได้ในอนาคต
ภาคเอกชนเป็นแกนหลักในการพัฒนาเทคโนโลยี
จานวนสิทธิบัตรสะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มการเติบโตของเทคโนโล
ไทย ควรเลือกแนวทางและกำหนดนโยบายอย่างชัดเจน และวางแผนระยะยาว สร้างทรัพย์สินทางปัญญาเป็นของตนเอง
กลุ่มเทคโนโลยีที่น่าสนใจ คือการแพทย์เพื่อผู้สูงอายุ และระบบ
Startup
Repeatable
เป็นโมเดลธุรกิจที่สามารถทำซ้ำได้ไหม มีคนกลับมาใช้บริการต่อไปเรื่อยๆ ได้ไหมอย่างไร
Scalable
ตั้งแต่การขยายฐานลูกค้าออกไปยังตลาดต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
เช่นเพิ่มฟีเจอร์ก็สามารถเข้าสู่ตลาดที่ใหญ่
โมเดลธุรกิจที่เน้น "การเติบโตได้อย่างรวดเร็ว“