Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 2 - Coggle Diagram
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 2
ระบบบริการสุขภาพ
ระดับตติยภูมิ
โรงพยาบาลทั่วไป 83 แห่ง
ระดับทุติยภูมิ
โรงพยาบาลชุมชน 780 แห่ง
ระดับศูนย์/เชี่ยวชาญ
โรงพยาบาลศูนย์ 33 แห่ง
พฤติกรรมการบริโภคบริการทางสุขภาพในปัจจุบัน
สถานพยาบาลเอกชน
สถานพยาบาลของรัฐ
โรงพยาบาลชุมชน
รพ.สต.สถานีอนามัย
โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลศูนย์
ศูนย์บริการเฉพาะทาง
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพในอดีต
การแพทย์แบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ศาลปู่ตา
ผีฟ้า
หมอผี
การแพทย์แบบประสบการณ์
แผนการปฏิบัติเฉพาะตัว
การอยู่ไฟ
กินข้าวกับเกลือ
รักษากับหมอพื้นบ้าน
ยาหม้อต้ม
หมอน้ำมัน
รักษาด้วยยากลางบ้าน สมุนไพร
มะเกลือถ่ายพยาธิ
การแพทย์แบบโหราศาสตร์
หมอทายเลข
หมอดู
หมอตำราพรหมชาติ
หมอสะเดาเคราะห์
การแพทย์แบบทฤษฎีธาตุ
หมอชีวกโกมารภัจจ์ บิดาการแพทย์แผนโปราณของไทย
ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ
ผูกขขาดโดยหมอหลวง ถ่ายทอดสู่หมอบ้าน
ปัญหาพฤติกรรมการบริโภคด้านสุขภาพ
การเปลี่ยนผู้รักษาหรือสถานพยาบาลโดยไม่จำเป็น
แพทย์เวชหรือแพทย์ประจำครอบครัว
ความต่อเนื่องในการรักษา
สะดวก ปลอดภัยและลดค่าใช้จ่าย
นิยมใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่มีราคาแพง
MRI
CT Scan
การบริโภคยาที่ไม่จำเป็น
ยาปฏิชีวนะ
ยาแก้ปวด
นิยมใช้บริการภาคเอกชนที่มีราคาแพง
โรงพยาบาลเอกชน
คลีนิกเอกชน
ขาดความรู้และจิตสำนึกในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนที่ถูกต้อง
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การบริโภคอาหาร
อุบัติเหตุ
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคด้านสุขภาพ
วัตถุนิยม
แสดงหากำไร
ไม่คำนึงถึงกฎหมายและศีลธรรม
สิ่งอำนวยความสะดวก
การปลอมแปลงผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอาง
การนิยมวัฒนธรรมตะวันตก/ตะวันออก
การแต่งกาย
การรับประทานอาหาร
ภาพยนตร์และดนตรี
การปลอมแปลงผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอาง
การเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม
สถานพยาบาลเอกชน
เทคโนโลยีทางการแพทย์
ยารักษาโรค
เครื่องสำอาง
เครื่องดื่ม
อาหารสำเร็จรูป
ห้างสรรพสินค้า
พฤติกรรมการบริโภคด้านสุขภาพที่เหมาะสม
มีแพทย์ประจำครอบครัวดูแลสุขภาพ
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้บริการสุขภาพ
ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยและโรค
วิธีการรักษา ทางเลือก
ประสิทธิภาพ ความเสี่ยงในการรักษา
มีส่วนร่วมรับผิดชอบในสุขภาพของตนเองและชุมชน
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และอุบัติเหตุ
การบริโภคอาหาร
การควบคุมป้องกันโรค