Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ธรรมาภิบาล - Coggle Diagram
ธรรมาภิบาล
ความรู้พื้นฐาน
3.คุณลักษณะ
1.การมีส่วนร่วมของประชาชน
2.มีความสุจริตและโปร่งใส
3.มีพันธะความรับผิดชอบต่อสังคม
4.มีกลไกการเมืองที่ชอบธรรม
5.มีกฎเกณฑ์ที่ยุติธรรม
6.มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
7.หลักนิติธรรม
8.หลักความเสมอภาค
9.หลักมุ่งเน้นฉันทามติ
4.องค์ประกอบ
3.หลักความรับผิดชอบ
4.หลักความคุ้มค่า
5.หลักการมีส่วนร่วม
2.หลักความโปร่งใส
1.หลักนิติธรรม
6.หลักคุณธรรม
2.ตัวชี้วัด
ธนาคารโลก
สำนักงาน กพ
6.ประโยชน์
1.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
2.เป็นกลไกควบคุมและตรวจสอบ โดยประชาชนมีส่วนร่วม
3.ป้องกันความเสียหาย
4.สร้างสำนึกที่ดีในการบริหารงาน
1.ความหมาย
การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี
5.พุทธธรรมาภิบาล
2.บริหารคน (ครองคน)
3.การบริหารงาน (ครองงาน)
1.การบริหารตน (ครองตน)
แนวคิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1.ระเบียบสำนักนายรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พศ 2542
2.หลักคุณธรรม
3.หลักความโปร่งใส
1.หลักนิติธรรม
4.หลักการมีส่วนร่วม
6.หลักความคุ้มค่า
5.หลักความพร้อมรับผิด
3.พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์ และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี พศ 2546)
1.เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
3.มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า
4.ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
5.ปรับปรุงภารกิจให้ทันต่อสถานการณ์
6.ประชาชนะได้รับการตอบสนองความต้องการ
7.มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการสม่ำเสมอ
2.หลักธรรมาภิบาล 10 ประการ
(แก้ไขปรับปรุง)
1.หลักประสิทธิผล
2.หลักประสิทธิภาพ
4.หลักภาระรับผิดชอบ
5.หลักความโปร่งใส/เปิดเผย
6.หลักนิติธรรม
7.หลักความเสมอภาค
8.หลักการมีส่วนร่วม
9.หลักการกระจายอำนาจ
10.หลักคุณธรรม/จริยธรรม
3.หลักการตอบสนอง
รัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พศ 2560
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พศ 2561-2580)
เป้าหมาย
ด้านความมั่นคง
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ด้านการสร้างความเสมอภาคทางสังคม
ด้านการสร้างคุณภาพชีวิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ด้านพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
คติพจน์
ความมั่งคั่ง
เศรษฐกิจขยายตัวต่อเนื่อง
แข่งขันกับประเทศต่างๆได้
ลดความเหลื่อมล้ำ
ประชาชน อยู่ดี มีสุข
เศรษฐกิจ/สังคมสอดรับกับบริบทที่เปลี่ยนไป
เป็นจุดเชื่อมโยงการค้า/การลงทุน
มีความสมบูรณ์ในทุนมนุษย์
ความยั่งยืน
คุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น
รักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
การผลิต/บริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
คนรับผิดชอบสังคม เพื่อประโยชน์ส่วนรวม
การมีส่วนร่วมของประชาชน/ทุกภาคส่วน
ปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความมั่นคง
ปลอดภัยจากการเปลี่ยนแปลง
มั่นคงในทุกมิติ
มีความโปร่งใส
มีความสามัคคี
ชุมชนเข้มแข็ง
มั่นคงในชีวิต
ปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
1.การเสริมสร้างศักยภาพทุนมนุษย์
2.การลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
5.การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ
6.การบริหารจัดการในภาครัฐ/ธรรมาภิบาลในสังคมไทย
7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
8.การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
9.การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
10 . ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา